-
โดยหลักแล้วกระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั่วไป จะต้องผ่านการพิจารณาโดยสภาผู้แทนราษฎรสามวาระ และส่งต่อให้วุฒิสภาพิจารณาอีกสามวาระ หากวุฒิสภา เห็นชอบ ร่างกฎหมายนั้นในวาระสาม นายกรัฐมนตรีก็จะต้องนำร่างกฎหมายนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ...
-
ข้อเรียกร้องให้สภาทนายความรวมถึงองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่างเนติบัณฑิตยสภา (เนติฯ) แก้ไขข้อบังคับการแต่งกาย ที่แบ่งแยกการแต่งกายตามเพศให้ทนายความหญิงต้องสวมใส่กระโปรงเวลาว่าความ กินเวลาต่อสู้ยืดเยื้อมาตั้งแต่ปี 2563 จนกระทั่งปลายปี 2565 ...
-
แม้หลายอาชีพจะให้ผู้หญิงสามารถสวมใส่กางเกงขณะทำงานได้ แต่บางอาชีพก็ยังมีกรอบกำหนดการแต่งกายโดยยึดโยงกับเพศกำหนด อาชีพทนายความ ก็เป็นหนึ่งในอาชีพที่ยังมีกรอบในการแต่งกายอยู่ จะเห็นได้จากข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529ข้อ 20 ...
-
15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรนัดพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ร่างพ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล ...
-
การอยู่ร่วมครอบครัวเป็น ผัวเมีย ของคนไทยในยุครัตนโกสินทร์ พระอัยการลักษณะผัวเมียกฎหมายตราสามดวง ยอมรับการก่อตั้งครอบครัวแบบ ผัวเดียวหลายเมีย ผู้ชายสามารถมีเมียหลายคนได้ และเมียมีหลายลำดับชั้น ในทางตรงกันข้าม ผู้หญิงไม่สามารถมีผัวหลายคนได้ ...
-
8 มิถุนายน 2565 เดิมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่ต้องลงมติ รับหลักการ ในวาระหนึ่ง สามฉบับ ได้แก่ 1) ร่างพระราชบัญญัติกัญชา กัญชง 2) ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า และ 3) ...
-
8 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรจะลงมติว่าจะรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ #สมรสเท่าเทียม หรือไม่ หลังจากเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมายดังกล่าวไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการหลังจากครม. ...
-
ความเท่าเทียมทางเพศ เป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญที่ผู้คนในสังคมถกเถียงกันต่อเนื่องยาวนาน ในบางประเทศนั้น แต่แรกเริ่มสิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างการเลือกตั้งก็ไม่ได้รับรองสำหรับทุกเพศ บางประเทศใช้เพศ ฐานะ วุฒิการศึกษา ...
-
9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ) #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอส.ส. พรรคก้าวไกล เพื่อให้ปลดล็อกข้อจำกัดในประมวลกฎหมายแพ่ง ซึ่งยังใช้บังคับอยู่ ...
-
ประเด็นเรื่องการแต่งกายสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย เป็นหนึ่งในปัญหาซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไข ย้อนกลับไปเมื่อปี 2563 สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (สนส.) ได้เข้าพบตัวแทนสภาทนายความ ยื่นหนังสือพร้อมรายชื่อทนายความ 126 คน ...