หลากมุมมองต่อการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงจากการชุมนุมทางการเมือง เหตุผลที่ทำให้ต้องประกาศมีน้ำหนักเพียงพอไหม? ผลกระทบจากการประกาศมีอะไรบ้าง? บทเรียนที่ประชาชนได้รับ และจะแก้ปัญหาระยะยาวอย่างไร?
น่าเศร้าใจที่สุดกับวิธีคิดของสังคมที่เชื่อว่า หากต้องการเห็นสิ่งใดเกิดขึ้น ก็ต้องหากฎหมายใหม่ๆ มาใช้ และกฎหมายจะทำให้งานนั้นๆ สำเร็จได้ โดยไม่คำนึงถึงสภาพปัญหาตามความเป็นจริง กับความรู้สึกนึกคิดของผู้คนที่เกี่ยวข้อง ไม่คำนึงว่ากฎหมายแต่ละฉบับมีผลเป็นการทั่วไปกับทุกคนที่ทั้งเกี่ยวและไม่เกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น
เปิดโอกาสเพิ่มสำหรับผู้พลาดข่าวสาร หรือเขียนงานกันไม่ทัน ใครอายุไม่เกิน 25 มี "กฎหมายที่ฝันอยากเห็น" เราต่อเวลาให้
“สอดส่องออนไลน์: ใครสุ่ม ใครเสี่ยง?” ห้อง LT1 คณะนิติศาสตร์ มธ.(ท่าพระจันทร์) วันที่ 16 ก.พ.53 เวลา 13 น. ไม่ต้องลงทะเบียน ไม่มีค่าใช้จ่าย
สังคมออกแบบได้ ชวนคุณคุณที่อายุไม่เกิน 25 ปี ร่วมประกวดการเขียนกฎหมายที่ฝันอยากเห็น ผู้เข้ารอบสุดท้ายจะได้ขึ้นเวทีในงาน "ID Change: ตลาดนัดกฎหมายประชาชน" เพื่อให้กรรมการและมหาชนร่วมตัดสิน! ชิงเงินรางวัล 5,000 บาท
ตอนนี้ ร่างพรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เข้าไปจ่อรอคิวในสภาเรียบร้อยแล้ว มาดูเนื้อหากัน ว่ามันมีสาระว่าอย่างไรบ้าง
“ถ้าจะเรียก อาจเรียกกฎหมายชุดนี้ว่ากฎหมายชุดความมั่นคง แต่ผมจะเสนอว่า นี่คือชุดกฎหมายการก่อการร้ายของรัฐ บนพื้นฐานความกลัวหรือเหตุความกลัวก็ได้”
กฎหมายภายใต้รัฐไทยที่ไม่มีความแน่นอน มันเปิดโอกาสให้องค์อธิปัตย์ใช้อำนาจและเข้ามาจัดการและควบคุมคน กรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น กรณีของคุณดา ตอร์ปิโด ฯลฯ นี่คือภาวะของความไม่แน่นอนของกฎหมายที่องค์อธิปัตย์ใช้ผ่านกลไกของรัฐ ความไม่มั่นคงนี้ไม่ใช่ความไม่มั่นคงของสังคม แต่เป็นความไม่มั่นคงขององค์อธิปัตย์และตัว colonial state เอง
หกทศวรรษปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นักวิชาการด้านกฎหมายและทนายความเห็นพ้อง กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทยมีปัญหาการละเมิดสิทธิ แม้กฎหมายไทยแก้ไขให้สอดคล้องกับหลักสากลแล้ว แต่การทำงานของเจ้าหน้าที่ยังมีปัญหาอยู่มาก
วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 13.30-17.00 น. ณ ห้องประชุมจิตติ ติงศภัทิย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์