เลือกตั้ง 66: เช็ควัน/ช่องทางเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร

หลังปิดรับการลงทะเบียนใช้สิทธิเลือกตั้งล่วงหน้า และเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรไปเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2566 กกต.เปิดเผยในวันที่ 12 เมษายน 2566 ว่า มีผู้มีสิทธิเลือกตั้งชาวไทยลงทะเบียนขอใช้สิทธิเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรรวมทั้งสิ้น 115,139 คน

โดยทั่วไป ประชาชนที่อยู่อาศัยในต่างประเทศ จะมีทางเลือกในการใช้สิทธิเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรสองทาง คือการเดินทางไปใช้สิทธิตามสถานที่ที่สถานทูตหรือกงสุลกำหนด ซึ่งส่วนใหญ่คืออาคารสถานทูต หรือการส่งบัตรเลือกตั้งที่ได้รับการสถานทูตกลับไปทางไปรษณีย์ ทั้งนี้ การเลือกตั้งจะเป็นช่องทางใดก็แล้วแต่สถานทูตหรือกงสุลแต่ละแห่งจะกำหนด ไม่จำเป็นต้องมีทั้งสองรูปแบบ

หากเป็นการใช้สิทธิเลือกตั้งผ่านช่องทางไปรษณีย์ ประชาชนจะได้รับบัตรเลือกตั้งจากสถานทูตตามที่อยู่ที่กรอก หลังจากนั้น บัตรเลือกตั้งที่ทำเครื่องหมายแล้วจะต้องส่งถึงสถานทูตหรือกงสุลในเวลาที่กำหนดเท่านั้น ไม่ใช่นับจากวันที่ส่งไปรษณีย์ เช่น หากกำหนดเป็นวันที่ 1 พฤษภาคม ก็จะต้องถึงสถานทูตในวันที่ 1 พฤษภาคม ดังนั้น ประชาชนที่ใช้สิทธิจึงต้องคำนวณเวลาให้ดีก่อนการส่งไปรษณีย์เพื่อให้คะแนนเสียงของเราถูกนับ

ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่อีเมล เว็บไซต์ เบอร์โทรศัพท์ หรือเพจเฟสบุ๊คของสถานทูตหรือกงสุลที่มีพื้นที่รับผิดชอบในพื้นที่อยู่อาศัยของตนเอง

ข้อมูลที่รวบรวมมาในที่นี้จะมีเฉพาะประเทศขนาดใหญ่และประเทศที่คนไทยอาศัยอยู่จำนวนมากเท่านั้น หากอาศัยอยู่ในประเทศอื่น ๆ สามารถตรวจสอบได้ที่สถานทูตไทยประจำประเทศนั้นได้เช่นเดียวกัน

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงวอชิงตัน เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
กงสุลใหญ่ชิคาโก เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
กงสุลใหญ่นิวยอร์ก เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
กงสุลใหญ่ลอสแอนเจลิส เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงโตเกียว เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่โอซากา เว็บไซต์ เฟซบุ๊
กงสุลใหญ่ฟูกูโอกะ เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สถานทูตกรุงโซล เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สำนักงานการค้าและเศรษฐกิจไทย (ไทเป) เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สถานทูตสิงค์โปร์ เว็บไซต์ เฟสบุ๊ก

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงปักกิ่ง เว็บไซต์
กงสุลใหญ่เซี่ยงไฮ้ เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่กวางโจว เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่คุนหมิง เว็บไซต์ [email protected]
กงสุลใหญ่เฉิงตู เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่หนานหนิง เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่ซีอาน เว็บไซต์
กงสุลใหญ่เซี่ยเหมิน เว็บไซต์
กงสุลใหญ่ฮ่องกง เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่ชิงต่าว เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงสตอกโฮล์ม เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
สถานทูตกรุงเบอร์ลิน เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
กงสุลใหญ่มิวนิก เว็บไซต์
กงสุลใหญ่แฟรงก์เฟิร์ต เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
สถานทูตกรุงลอนดอน เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
สถานทูตกรุงออสโล เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สถานทูตกรุงปารีส เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สถานทูตกรุงเบิร์น เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
สถานทูตกรุงโคเปนเฮเกน เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงแคนเบอร์รา เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก
กงสุลใหญ่ซิดนีย์ เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก [email protected]
สถานทูตกรุงเทลอาวีฟ เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงไคโร เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง [email protected]
สถานทูตกรุงนิวเดลี เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง [email protected]
สถานทูตกรุงริยาด เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง [email protected]
สถานกงสุล เมืองเจดดาห์ เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง [email protected]

๐ ช่องทางติดต่อ

สถานทูตกรุงออตตาวา เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง contac[email protected] 
สถานทูตกรุงเวลลิงตัน เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก อีเมล ทาง [email protected]
You May Also Like
อ่าน

เศรษฐาแถลง ประชามติ 3 ครั้งสู่รัฐธรรมนูญใหม่ “ห้ามแตะหมวดทั่วไป-หมวดพระมหากษัตริย์” ย้ำพร้อมแก้ พ.ร.บ.ประชามติ

23 เมษายน 2567 เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ระบุว่ารัฐบาลมีความเห็นสอดคล้องกับข้อสรุปของคณะกรรมการประชามติ ที่เห็นว่าควรมีการทำประชามติสู่รัฐธรรมนูญใหม่ทั้งสิ้นสามครั้ง ไม่แตะหมวดทั่วไปและหมวดพระมหากษัตริย์ และเน้นย้ำว่าควรมีการแก้ไข พ.ร.บ. ประชามติ ควบคู่กันไปด้วย
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

17 เมษายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเไม่รับคำร้องที่รัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปัญหาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่า รัฐสภาจะมีอำนาจในการพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน