Laws Monitoring

พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ฉบับที่ 22 และ 23 ที่ประกาศใช้แล้ว มีเนื้อหาที่น่าสนใจ เช่น การเพิ่มความความผิดเกี่ยวกับศพ การปรับอัตราโทษของความผิดลหุโทษ การนิยามคำว่า “เจ้าพนักงาน” เป็นครั้งแรก และการเพิ่มโทษปรับคดีข่มขืนเด็ก 
วันนี้ (24 มีนาคม 2558) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนมากกว่า 20 องค์กร เดินทางไปยื่นข้อเสนอและคัดค้าน ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ กับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ สร้างเงื่อนไขในการจำกัดเสรีภาพในการชุมนุม การตัดอำนาจศาลปกครอง เรื่องการรับผิดร่วมระหว่างผู้ชุมนุมและผู้จัดการชุมนุม เป็นต้น
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 สภานิติบัญญัติเเห่งชาติ (สนช.) ได้บรรจุ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ว่าด้วยเรื่องสื่อลามกอนาจารในเด็กและคุ้มครองเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ แต่ปัญหาของการนำมาใช้ของกฎหมายฉบับนี้่ยังเป็นที่ถกเถียงอยู่ในสังคม
Land and building tax
หลายฝ่ายเห็นตรงกัน ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างหลักการดี แต่ห่วงกระทบคนชั้นกลาง-ล่าง จ่ายไม่ไหว ชี้ไม่ช่วยลดเหลื่อมล้ำ แนะเก็บเฉพาะคนมีที่ดินเกิน 50 ไร่ ในอัตราก้าวหน้า
asset
ร่าง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป็นที่พูดคุยกันอย่างต่อเนื่องในสังคม โดยเฉพาะกระแสต่อต้านที่ดูจะดังมากกว่า มีอะไรที่น่าสนใจในภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบ้าง 
assembly act opinions
ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
คุณพ่อคุณแม่อาจจะสบายใจขึ้น เมื่อแก้ไขกฎหมายหอพักให้มีการจัดการหอพักอย่างรัดกุมและเคร่งครัด แถมผู้ประกอบการยังยิ้มได้ เพราะหากทำตามที่รัฐขอก็อาจจะได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและอื่นๆ อีก เรียกได้ว่า เด็กๆ จะมีผู้ช่วยปกครองอยู่ด้วยภายในหอ
Protection Buddhism Act
ความพยายามเสนอ ร่าง พ.ร.บ.อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นหลังรัฐประหาร 2549 และต่อเนื่องถึงรัฐบาลหลังจากนั้นหลายครั้งแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ หลังรัฐประหาร 2557 ร่างกฎหมายฉบับนี้กลับมาอีกครั้ง และเป็นกฎหมายฉบับต้นๆ ที่คณะรัฐประหารอนุมัติหลักการก่อนจะมี ครม. และ สนช.ด้วย  
CIVIL PROCEDURE CODE AMENDMENT
ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
Dr.Kanatip
ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์