ล่าสุด ร่าง พ.ร.บ. การรับรองเพศ พ.ศ. ... ยังอยู่ในกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้-เสีย คาดว่าอาจมีการทำประชาพิจารณ์ฟังเสียงประชาชนปี 61-62 นักกิจกรรม ชี้ หลักเกณฑ์การรับรองเพศไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา เสนอแนะให้ร่างพ.ร.บ.การรับรองเพศควรรวดเร็ว-โปร่งใส–ง่ายต่อการเข้าถึง-มีกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
แอมเนสตี้แถลงร่วม ICJ ผิดหวังต่อข่าวที่ระบุว่า "ร่าง พ.ร.บ.ทรมานและอุ้มหาย" ต้องล่าช้าออกไปอีก พร้อมเรียกร้องทางการไทยให้เร่งออกกฎหมายนี้โดยเร็ว
จากกรณีข่าวสะเทือนขวัญสังคม เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐกลายเป็นผู้ต้องหา "อุ้มฆ่า" สุภัคสรณ์ พลไธสง ผู้ซึ่งมีอัตลักษณ์ทางเพศเป็นทอม จนนำไปสู่วงเสวนาเพื่อสะท้อนปัญหาจากการมีอคติหรือเกลียดชังต่อความแตกต่างทางเพศที่นำไปสู่ความรุนแรงที่ไม่ค่อยถูกพูดถึง แถมยังถูกพูดเงื่อนด้วยช่องโหว่ของรัฐที่ไม่สามารถปกป้องความรุนแรงแบบนี้ได้
เวทีเสวนาวิชาการสะท้อน ในร่าง #พรบคอมฯ ฉบับใหม่ ข้อกล่าวหาเสนอ "ข้อมูลเท็จ" เป็นแน้วโน้มที่สื่อไม่สามารถเลี่ยงได้ นักสิทธิมนุษยชนมีข้อกังวลคำว่า "ศีลธรรมอันดี-ความมั่นคงของชาติ" ขึ้นอยู่ที่ดุลยพินิจของคณะกรรมการ 9 คน
วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังคลุมเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งส่งรีพอร์ตให้กัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์
เสวนาเรื่อง มองปรากฎการณ์เรื่องเพศในสังคมไทย ปี 2559 เสนอประเด็น เกี่ยวกับพื้นที่และตัวตนของกลุ่มเกย์ในทวิตเตอร์ ที่มีการเผยแพร่คลิปความสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย การขายเซ็กส์ผ่านไลน์สร้างรายได้ และการต่อต้านบรรทัดฐานทางสังคม
นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม
งานเปิดตัวหนังสือ Fifty Shades of work สะท้อนปัญหาแรงงานนอกระบบที่ส่วนใหญ่สวัสดิการไม่เพียงพอ บรรณาธิการหนังสือและทราย เจริญปุระ ร่วมแชร์ แรงงานนอกระบบไม่ได้มีแต่คนจน อาชีพรับจ้างอิสระ ดารานักแสดง ล้วนเป็นแรงงานนอกระบบ ต้องการการคุ้มครอง
จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’ แต่ เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย
เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพรบ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้านกมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ "ข้อมูลเท็จ"