อ่าน ชุมนุมสาธารณะ บทความเสรีภาพอื่นๆ เสรีภาพการแสดงออก ทบทวนก่อนก้าวต่อ: ขบวนการเคลื่อนไหวยุคปี 63 สู่บริบทการเมืองหลังการเลือกตั้ง 66พฤษภาคม 28, 2023 แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมและนักเรียนเลวถอดบทเรียนการเคลื่อนไหวช่วงปี 2563 – 2564 ก่อนมองไปถึงทิศทางหลังการเลือกตั้ง 66 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ละเมิดอำนาจศาล เสรีภาพการแสดงออก เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะตุลาคม 8, 2020 วันที่ 7 ตุลาคม 25… 0 0 0
อ่าน บทความเสรีภาพอื่นๆ ถอดบทเรียน “6 ตุลาฯ” การเติบโตและถดถอยของประชาธิปไตยตุลาคม 5, 2020 แม้จะผ่านมาแล้ว 44 ปี แต่เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ก็มีอีกหลายเรื่องที่ยังต้องทำการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แต่อย่างน้อยที่สุด ข้อค้นพบเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในมุมมองของนักวิชาการที่มาร่วมงานเสวนาในหัวข้อ "หา(ย) : อุดมการณ์ – ความทรงจำ – รัฐธรรมนูญ" คือ เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เป็นความพยายามเหนี่ยวรั้งการเปลี่ยนแปลง หรืออีกนัยหนึ่งคือความพยายามตัดตอนระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มศักดินาโดยเอาชีวิตของเหล่านิสิตนักศึกษาเป็นเครื่องสังเวย 0 0 0
อ่าน กฎหมายประชาชน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ ติดตามกฎหมาย ประชุมสภา รัฐธรรมนูญและรัฐสภา สรุปความ ‘ไพบูลย์ นิติตะวัน’ ที่ FCCT ระบุไม่เห็นด้วยร่างประชาชน 100,000 ชื่อตุลาคม 2, 2020 กระแสการแก้ไขรัฐธร… 0 0 0
อ่าน กกต. ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา องค์กรอิสระ แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญกรกฎาคม 21, 2020 18 กรกฎาคม 2563 กลุ่ม New Consensus Thailand ได้จัดเวทีสาธารณะในหัวข้อ “กกต. ไทย อย่างไรต่อดี” วงเสวนาได้กล่าวถึงสภาพปัญหาเชิงโครงสร้างของ กกต. อำนาจนิยมที่แอบแฝงอยู่ในโครงสร้าง การทำงานของ กกต. ที่ขาดมาตรฐานชัดเจน และหนทางแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว 0 0 0
อ่าน บทความองค์กรอิสระอื่นๆ องค์กรอิสระ วงเสวนาองค์กรอิสระไทย เห็นพ้อง ป.ป.ช. ต้องมีที่มาจากประชาชน และตรวจสอบได้ง่ายกรกฎาคม 17, 2020 วันที่ 4 กรกฎาคม 2… 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”พฤษภาคม 2, 2020 นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60เมษายน 22, 2020 ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 0 0 0
อ่าน รัฐธรรมนูญและรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ เสียดายศาลรัฐธรรมนูญไม่ไต่สวน คิดดอกเบี้ยอย่างไรเกินสิบล้าน?มีนาคม 6, 2020 นักวิชาการด้านนิติศาสตร์ร่วมกันแจกแจงการให้เหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ที่นำไปสู่การยุบพรรคการเมืองอันดับสองของฝ่ายค้านอย่างพรรคอนาคตใหม่ 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ นักกฎหมายแนะเพิ่มระบบตรวจสอบศาลรัฐธรรมนูญ ยันประชาชนใหญ่สุด วิจารณ์ศาลได้กุมภาพันธ์ 20, 2020 19 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ห้องประชุมคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ท่าพระจันทร์ มีวงเสวนาเรื่องประชาชนอยู่ตรงไหน เมื่อตุลาการเป็นใหญ่ในแผ่นดิน วิทยากรประกอบด้วย ผศ.ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร์ มธ., ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ, รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาฯ มธ. และสัณหวรรณ สีสด จากคณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล 0 0 0