กสม. ชี้รัฐปราบปรามละเมิดสิทธิผู้ชุมนุม ใช้อาวุธขัดหลักสากล
อ่าน

กสม. ชี้รัฐปราบปรามละเมิดสิทธิผู้ชุมนุม ใช้อาวุธขัดหลักสากล

  24 ธันวาคม 2564 เวลา 10.30 น. คณะกรรมสิทธิมนุษยชนแห่งชาติแถลงรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่สำคัญประจำปี 2564 กรณีการชุมนุมทางการเมืองระหว่างเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2564 ซึ่ง กสม.
นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?
อ่าน

นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?

การรวมตัวกันของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ส” บริเวณแยกดินแดงได้ปรากฎภาพการปะทะกันระหว่างเยาวชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนครั้งแล้วครั้งเล่า โดยมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนยาง แก๊สน้ำตา ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นต่างก็ได้รับผลกระทบทั้งในแง่ความปลอดภัยและการใช้ชีวิตประจำวัน จนภาพ “ความรุนแรง” กลายเป็นภาพจำของการชุมนุมในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ของผู้สังเกตการณ์สิ่งที่ได้พบเห็นไม่ได้มีเพียงความรุนแรง แต่ ณ สมรภูมิดินแดง ยังมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งร้านขายของ มีเต็นท์ปฐมพยาบาล บางวันก็มีศิลปินมาเล่นดนตรีสร้างสีสันให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม มีหลายมุมที่ไม่ต่างจากการพื้นที่ชุมนุมอื่นๆมากนัก
รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล  เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง
อ่าน

รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง

รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง
เป็นเอก-ภาสกร: คุ้ยเรื่องเก่า เล่าเรื่องใหม่ ผ่านหนังสารคดี “ประชาธิป’ไทย”
อ่าน

เป็นเอก-ภาสกร: คุ้ยเรื่องเก่า เล่าเรื่องใหม่ ผ่านหนังสารคดี “ประชาธิป’ไทย”

ไม่บ่อยนักที่วงการหนังเมืองไทยจะมี “หนังการเมือง” เข้าฉายในโรง และยิ่งหายากเมื่อหนังเรื่องนั้นเป็นหนัง “สารคดี” วันที่ 24 มิ.ย.นี้ จะเป็นวันแรกที่ภาพยนตร์เรื่อง ประชาธิป'ไทย (Paradoxocracy) เข้าฉาย ผลงานการกำกับและตัดต่อจาก ของ “ต้อม – เป็นเอก รัตนเรือง” และ “เอก – ภาสกร ประมูลวงศ์” สองคนทำหนังที่เคยประกาศตัวว่าไม่สนใจเรื่องการเมือง