จับตาพิพากษาม. 112 คดีที่ 4 ของทนายอานนท์ อาจจำคุกรวมเพิ่มเป็น 18 ปี
อ่าน

จับตาพิพากษาม. 112 คดีที่ 4 ของทนายอานนท์ อาจจำคุกรวมเพิ่มเป็น 18 ปี

ศาลอาญานัดอานนท์ นำภาฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 คดีที่ 4 จากทั้งหมด 14 คดี โดยเขาถูกกล่าวหาว่า โพสต์เฟซบุ๊กเข้าข่ายมาตรา 112 รวม 2 ข้อความ หากศาลพิพากษาว่า ผิดอาจมีโทษจำคุกรวม 4 คดีประมาณ 18 ปี
17 ม.ค. 67 นัดฟังคำพิพากษามาตรา 112 คดีที่สองของอานนท์ นำภา
อ่าน

17 ม.ค. 67 นัดฟังคำพิพากษามาตรา 112 คดีที่สองของอานนท์ นำภา

17 มกราคม 2567 ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112 ของอานนท์ นำภาจากการโพสต์เฟซบุ๊กสามข้อความในปี 2564 นับเป็นคดีมาตรา 112 คดีที่สองของอานนท์ที่ศาลพิพากษา จนถึงวันที่ 15 มกราคม 2567 เขาถูกคุมตัวมาแล้ว 112 วัน
เลื่อนสืบพยานคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร  นัดใหม่ 3-4 เม.ย. 67
อ่าน

เลื่อนสืบพยานคดี #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร นัดใหม่ 3-4 เม.ย. 67

10 มกราคม 2567 ศานัดสืบพยานโจทก์คดีชุมนุม “19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร” คดีนี้มีจำเลยทั้งหมด 22 คน มี 7 คนถูกดำเนินคดีมาตรา 112 เนื่องจากเป็นคดีที่มีอัตราโทษสูงและต้องการให้ศาลพิจารณาคดีโดยเปิดเผ จำเลยทั้ง 7 คนจึงไม่ขอพิจารณาคดีลับหลัง ส่วนจำเลยที่เหลือได้รับอนุญาตให้พิจารณาลับหลังได้
จำคุก 4 ปี ‘ทนายอานนท์’ กรณีปราศรัยเรื่องการสลายการชุมนุมโดยพาดพิงรัชกาลที่สิบ
อ่าน

จำคุก 4 ปี ‘ทนายอานนท์’ กรณีปราศรัยเรื่องการสลายการชุมนุมโดยพาดพิงรัชกาลที่สิบ

26 กันยายน 2566 เวลา 9.00 น.
ทำความรู้จักคดีมรรยาททนายความ “อานนท์ นำภา”  ปราศรัยเรื่องสถาบันฯ ถูกสภาทนายความสอบสวน
อ่าน

ทำความรู้จักคดีมรรยาททนายความ “อานนท์ นำภา” ปราศรัยเรื่องสถาบันฯ ถูกสภาทนายความสอบสวน

คดี “มรรยาททนายความ” ของอานนท์ นำภา เกิดจากการร้องเรียนต่อสภาทนายความของอภิวัฒน์ ขันทอง กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และมือฟ้องร้องของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ โดยคดีนี้มีความน่าสนใจทั้งในแง่ของการวางบรรทัดฐานของสภาทนายความในประเด็นเรื่องการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นทางการเมืองของทนายความ
RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน
อ่าน

RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ที่สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไอลอว์จัดกิจกรรมเปิดตัวหนังสือ “Never Stop คนและคดียังไปต่อ” มีวงสนทนากับผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรา 112 “Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน”  โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 ได้แก่ สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล อดีตแกนนำนปช.
RECAP 112 : ชวนรู้จักคดีทนายอานนท์ ปราศรัยม็อบแฮร์รี่ 1
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดีทนายอานนท์ ปราศรัยม็อบแฮร์รี่ 1

(1) “อานนท์ นำภา” เริ่มเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนมาตั้งแต่สมัยยังเป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ต่อมา ภายหลังการรัฐประหาร 2557 เขาเป็นหนึ่งในทีมทนายของ “ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน” และว่าความให้กับจำเลยคดีการเมืองหลังรัฐประหารหลายคดี เช่น คดีฝ่าฝืนคำสั่งรายงานตัวของ คสช.
8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน อานนท์ นำภา จากจำเลยคดีชุมนุมสู่ผู้ต้องขังคดี 112
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน อานนท์ นำภา จากจำเลยคดีชุมนุมสู่ผู้ต้องขังคดี 112

ย้อนดูชีวิตของทนายอานนท์ นำภา ตั้งแต่ยุคคสช. จนถึงชุมนุมปี 2563 ผู้เริ่มปราศรัยประเด็นสถาบันพระมหากษัตริย์จนทำให้เขาถูกดำเนินคดีมาตรา 112
วิเคราะห์ผล “คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ” ต่อการเคลื่อนไหวทางการเมือง
อ่าน

วิเคราะห์ผล “คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ” ต่อการเคลื่อนไหวทางการเมือง

10 พฤศจิกายน 2564 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิฉัยให้การปราศรัยของ อานนท์ นำภา รุ้ง-ปนัสยา และ ไมค์ ภาณุพงศ์ เป็นการใช้สิทธิหรือเสรีภาพอันเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พร้อมห้ามกระทำการในลักษณะเดียวกันอีกในอนาคต ซึ่งคำวินิจฉัยยนี้ย่อมส่งผลต่อขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมือง