ท้ายปี 2567 องค์กรอิสระที่ สนช. เคยให้ความเห็นชอบ 11 ตำแหน่งหมดวาระ ลาออก 1 ตำแหน่ง
อ่าน

ท้ายปี 2567 องค์กรอิสระที่ สนช. เคยให้ความเห็นชอบ 11 ตำแหน่งหมดวาระ ลาออก 1 ตำแหน่ง

ช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม 2567 ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระรวม 12 ตำแหน่ง เนื่องจากหมดวาระและมีการลาออก โดยทั้ง 12 คนที่กำลังจะหมดวาระลงและได้ลาออกจากตำแหน่งนี้ล้วนเป็นตำแหน่งที่เคยได้รับความเห็นชอบจาก สนช. ที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติในสมัยเผด็จการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ
ผลงาน 5 ปี สว. ชุดพิเศษ “เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน
อ่าน

ผลงาน 5 ปี สว. ชุดพิเศษ “เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน

ตลอดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2562 วุฒิสภาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายนิติบัญญัติมีที่มาแตกต่างจากวุฒิสภาในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า“เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน
ส่องวาระศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ สว. 67 เคาะเลือกคนใหม่ได้เกินครึ่ง
อ่าน

ส่องวาระศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ สว. 67 เคาะเลือกคนใหม่ได้เกินครึ่ง

พฤษภาคม 2567 สว. ชุดพิเศษ จะหมดอายุแล้ว แต่ สว. ชุดใหม่ ยังคงมีอำนาจสำคัญในการเห็นชอบตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ ภายใต้วาระการดำรงตำแหน่งของ สว. ชุดใหม่ จะมีอำนาจได้ “เกินครึ่ง” ของจำนวนตำแหน่งทั้งหมด
13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่

รัฐธรรมนูญ 2560 ไม่ได้มีปัญหาเพียงแค่ “ที่มา” จากคณะรัฐประหารของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัญหาในเชิง “เนื้อหา” ด้วยไม่แตกต่างกัน ถือเป็นโอกาสอันดีและควรเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลภายใต้การนำของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในการกำจัด “ผลไม้พิษ” อย่างรัฐธรรมนูญ 2560 และยุติปัญหาที่กระทบประชาชนทั้งประเทศโดยไม่ประวิงเวลาออกไปมากกว่านี้
“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60
อ่าน

“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60

“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ พรรณิการ์ วานิช อดีต สส. พรรคอนาคตใหม่ มีนักการเมืองถูกตัดสินว่าผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแล้วจำนวนสี่คน
จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.
อ่าน

จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.

23 พฤษภาคม 2566 วุ…
เลือกตั้ง66:  เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง66: เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?

การเลือกตั้งครั้งน…
วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้
อ่าน

วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้

9 มีนาคม 2565 สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา จัดงานเสวนา “เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย: เราจะก้าวไปด้วยกัน”
ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565
อ่าน

ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565

ชวนมาสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของผู้หญิงในองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทย ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ