หนังสือเวียนศาล ให้ประกันโดยคำนึงถึงโควิดในเรือนจำ เน้นให้ผู้ต้องขังยื่นคำร้องเองจากเรือนจำได้
อ่าน

หนังสือเวียนศาล ให้ประกันโดยคำนึงถึงโควิดในเรือนจำ เน้นให้ผู้ต้องขังยื่นคำร้องเองจากเรือนจำได้

ศาลยุติธรรมออกหนังสือเวียน ให้ศาลพิจารณาให้สิทธิประกันตัวโดยคำนึงถึงอันตรายจากการแพร่ระบาดของโควิดในเรือนจำ และกำหนดมาตรการเพื่อให้มีโอกาสให้ประกันตัวได้มากขึ้น สนับสนุนให้ใช้กำไลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ “ผ่อนคลายการเรียกหลักประกัน
เสวนาหน้าศาล: ทนาย-นักวิชาการ รุมอัดศาล! ไร้ความกล้าหาญที่จะยืนยันสิ่งที่ถูกต้อง
อ่าน

เสวนาหน้าศาล: ทนาย-นักวิชาการ รุมอัดศาล! ไร้ความกล้าหาญที่จะยืนยันสิ่งที่ถูกต้อง

เครือข่าย People Go Network จัดกิจกรรม เสวนาหน้าศาล ในหัวข้อ ความยุติธรรมกับการคืนสิทธิประกันตัวโดยไม่มีเงื่อนไข โดยมี ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ คอรีเยาะ มานุแช สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน ร่วมวงเสวนา
อดอาหารเพื่อขอคืนสิทธิประกันตัว
อ่าน

อดอาหารเพื่อขอคืนสิทธิประกันตัว

ในวันนัดพร้อมของคดีชุมนุม #19กันยาทวงคืนอำนาจราษฎร เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2564 ที่ห้องพิจารณาคดี ศาลอาญา เพนกวิน จำเลยในข้อหามาตรา112 ประกาศว่า จะอดอาหารประท้วงจนกว่าศาลจะให้สิทธิในการประกันตัว
สิทธิประกันตัว: สิทธิที่มักถูกยกเว้นสำหรับผู้ต้องหาคดี 112
อ่าน

สิทธิประกันตัว: สิทธิที่มักถูกยกเว้นสำหรับผู้ต้องหาคดี 112

สิทธิในการประกันตัว เป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน แต่ทว่า สิทธิดังกล่าวกลับกลายเป็น “สิทธิที่ถูกยกเว้น” โดยเฉพาะกับผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีมาตรา 112 ซึ่งเหตุผลที่ศาลใช้ในการไม่ให้สิทธิประกันตัว คือ “น้ำหนักของข้อหา” เพื่อเชื่อมโยงว่า กลัวจำเลยหลบหนีหรือกระทำผิดซ้ำ โดยที่ขาดข้อเท็จจริงประกอบ
ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย
อ่าน

ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย

ระหว่างการรัฐประหาร 2557 การใช้มาตรา 112 และการไม่ให้ประกันตัวเป็นเรื่องที่เห็นบ่อยครั้ง ก่อนจะผ่อนคลายในช่วงปี 2561-2562 จากนั้นกลับมาสู่บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวอีกครั้งในปี 2563
นักนิติศาสตร์ชวนทบทวนมรดกกฎหมายอาญาในยุค คสช. เสนอรัฐบาลหน้าเร่งแก้ไข
อ่าน

นักนิติศาสตร์ชวนทบทวนมรดกกฎหมายอาญาในยุค คสช. เสนอรัฐบาลหน้าเร่งแก้ไข

ยุค คสช. ได้แก้กฎหมายหลายครั้งด้วยอำนาจพิเศษ มีผลให้ประชาชนได้รับโทษทางอาญา เมื่อ คสช.​ ลงจากอำนาจกฎหมายเหล่านี้ก็ยังจะใช้บังคับต่อไป
เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้
อ่าน

เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้

เปิดงานศึกษาตัวอย่างจากอเมริกา เคยมีระบบประกันตัวเหมือนไทยแต่เปลี่ยนสำเร็จ มาใช้ระบบประเมินความเสี่ยงแทนการวางเงิน จัดตั้งสำนักสืบเสาะข้อมูลโดยเฉพาะเพื่อนำเสนอศาล เก็บข้อมูลได้จริง รวดเร็ว ประเมินผลค่อนข้างแม่นยำ หลบหนีน้อย ใช้งบน้อยกว่าเอาคนไปขังคุก 
ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว “เพิ่มโทษซ้ำ หากหนีประกัน”

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไข ป.วิอาญา การปล่อยตัวชั่วคราว เข้าสู่การพิจารณาของ สนช. ในวาระแรก ซึ่งสมาชิกสนช.ได้ร่วมกันเสนอ โดยสาระสำคัญคือ ให้ศาลพิจารณาให้ประกันตัวผู้ตัองหา โดยไม่ต้องพิจารณาเรื่องหลักประกัน ทั้งนี้หากหนีประกันก็จะมีโทษอีกเช่นกัน 
ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน
อ่าน

ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน

เครือข่ายปฏิรูปการประกันตัวเพื่อคนจน จัดงานเสวนา “ปฏิรูปการประกันตัวเพื่อความเสมอภาคในสังคม : ร่วมกันแสวงหามาตรการทดแทนการขังระหว่างพิจารณา” เสนอเปลี่ยนระบบใช้เงินประกันตัว เป็นการออกแบบฐานข้อมูลประเมินความเสี่ยงหลบหนี ช่วยคนไม่มีเงินไม่ต้องติดคุก 
เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ