เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’

31 สิงหาคม 2563 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดเผยร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ร่วมกับคณะเป็นผู้เสนอ โดยมีทั้งสิ้น 5 มาตรา หนึ่งในสาระสำคัญ คือ วิธีการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้ง
ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่

การออกมาชุมนุมอย่างต่อเนื่องของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่มาพร้อมข้อเรียกร้องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญ ได้ส่งผลให้ทั้งรัฐสภาและรัฐบาลต้องออกมาขยับเพื่อตอบสนองกระแสดังกล่าว แต่ทว่าจากข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญเท่าที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นของพรรคร่วมฝ่ายค้าน คณะก้าวหน้าหรือพรรคก้าวไกล รวมถึงร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน จะพบว่า แต่ละฝ่ายมีทั้งจุดร่วมและจุดต่างอยู่หลายประการ
ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.
อ่าน

ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.

24 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. ภาคประชาชนนำโดยกลุ่ม ครช. ได้จัดกิจกรรม “ทวงคืนมรดกคณะราษฎร ทวงคืนสัญญารัฐธรรมนูญประชาชน” ณ บริเวณหน้าอาคารรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการแก้รัฐธรรมนูญต่อ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ
เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
บันทึกข้อมูลการชุมนุมของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชน ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563
อ่าน

บันทึกข้อมูลการชุมนุมของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชน ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563

การชุมนุมของคนรุ่นใหม่ในปี 2563 อยู่ภายใต้การจับตาของผู้มีอำนาจ และมีการใช้กฎหมายที่อาจส่งผลกระทบต่อการใช้เสรีภาพ เช่น พ.ร.บ.ชุมนุมฯ มา ‘เตือน’ เหล่าผู้ใช้เสรีภาพ รวมถึงการคุกคามในรูปแบบอื่นๆ
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ข้อเสนอหนทางกลับสู่ “ประชาธิปไตย” ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ข้อเสนอหนทางกลับสู่ “ประชาธิปไตย” ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ

สถานการณ์ทางการเมืองต้นปี 2563 เกิดกระแสความไม่พอใจต่อการครองอำนาจแบบเผด็จการของรัฐบาล คสช.2 แผ่ขยายวงกว้างไปทั่ว ไอลอว์เสนอให้ผู้ที่กำลังทำกิจกรรมเรียกร้องประชาธิปไตยช่วยกันพิจารณาข้อเสนอเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญชุดนี้ ในฐานะหนทางหนึ่งที่จะกลับสู่ประชาธิปไตย
แก้รัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญ 2560 แก้ไขยาก ต้องให้ ส.ว. 1 ใน 3 เห็นด้วย
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญ 2560 แก้ไขยาก ต้องให้ ส.ว. 1 ใน 3 เห็นด้วย

รัฐธรรมนูญปี 2560 แก้ไขยากเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 โดยเฉพาะเงื่อนไขที่ต้องมีเสียง ส.ว. 1 ใน 3 และฝ่ายค้านร้อยละ 20 ในจำนวนเสียงเห็นชอบ นอกจากนี้ ยังให้ทำประชามติหากแก้ไขบททั่วไป หมวดกษัตริย์ วิธีแก้ไขรัฐธรรมนูญ คุณสมบัตินักการเมือง อำนาจศาลและองค์กรอิสระ ท้ายสุดให้ศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดว่าแก้ได้หรือไม่
กระแสแก้ไขรัฐธรรมนูญ เริ่มแล้วโดยภาคประชาชนเจ็ดกลุ่ม
อ่าน

กระแสแก้ไขรัฐธรรมนูญ เริ่มแล้วโดยภาคประชาชนเจ็ดกลุ่ม

นับถึงสิ้นเดือนตุลาคม 2562 มีอย่างน้อย 7 กลุ่มองค์กร ที่ประกาศต่อสาธารณะ ในเรื่องการแก้รัฐธรรมนูญ ชวนทำความรู้จักพวกเขาและข้อเสนอของพวกเขากัน