พรรคประชาชนเสนอเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ แก้ 256 ตัดเงื่อนไข สว. 2 ใน 3 – เลือกตั้ง สสร. 100%
อ่าน

พรรคประชาชนเสนอเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ แก้ 256 ตัดเงื่อนไข สว. 2 ใน 3 – เลือกตั้ง สสร. 100%

พรรคประชาชนเสนอเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ แก้มาตรา 256 ตัดเงื่อนไขเสียง สว. หนึ่งในสาม เปลี่ยนไปใช้เสียง สส. สองในสามแทน – เปิดช่องเลือกตั้ง สสร. 100% 200 คน แบ่งเป็นแบบแบ่งเขตตามจังหวัด 100 คน บัญชีรายชื่อสมัครเป็นทีม 100 คน
เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สภาร่างต้องยึดโยงประชาชน
อ่าน

เดินหน้าเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สภาร่างต้องยึดโยงประชาชน

10 ธันวาคม 2566 วันรัฐธรรมนูญ เสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อประชาชน เพื่อร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนมองไปข้างหน้าถึงการเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 
นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%
อ่าน

นักวิชาการ-ผู้เชี่ยวชาญ อยู่ที่ไหนถ้าเลือกตั้ง สสร. 100%

การเลือกตั้ง สสร. โดยประชาชนทั้งหมด และบทบาทของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญไม่ใช่เรื่องที่ขัดแย้งกัน แต่หากยึดว่าอำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นของประชาชน การออกแบบระบบเพื่อหาที่ทางให้กับคนเหล่านี้ก็ยังมีความเป็นไปได้
ประเทศไทยเคยมี สสร. สี่ชุด แต่ไม่เคยมีครั้งไหนที่ประชาชนเลือกตั้งมาโดยตรง
อ่าน

ประเทศไทยเคยมี สสร. สี่ชุด แต่ไม่เคยมีครั้งไหนที่ประชาชนเลือกตั้งมาโดยตรง

ตลอดระยะเวลากว่า 91 ปีในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ แต่กลับมีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. เพียงสี่ครั้งเท่านั้น    ในจำนวนสี่ครั้ง มี สสร. จำนวนสองครั้งที่ถูกเลือกตั้งโดยสมาชิกรัฐสภา ขณะที่จำนวนอีกสองครั้งนั้นมาจากการแต่งตั้งโดยคณะรัฐประหาร ทำให้ไม่เคยมีการเลือกตั้ง สสร. เป็นการทั่วไปโดยประชาชนเลยแม้แต่ครั้งเดียว
เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%
อ่าน

เปิดคำถามประชามติโดยประชาชน ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ สสร. เลือกตั้ง 100%

กลุ่มประชาชนร่างรัฐธรรมนูญ เปิดแคมเปญ “เขียนใหม่ทั้งฉบับ เลือกตั้ง 100%” เชิญชวนประชาชนเข้าชื่อเพื่อเสนอคำถามสำหรับการทำประชามติต่อ ครม. ชุดใหม่ที่กำลังจะเกิดขึ้น
ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

21 ก.พ. 2566 ที่ประชุมวุฒิสภามีมติ “ไม่เห็นด้วย” กับการส่งให้ครม. จัดทำประชามติเพื่อถามประชาชนว่าสมควรจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับหรือไม่ ด้วยคะแนนเสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง เห็นด้วย 12 เสียง งดออกเสียง 13 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง เป็นอันว่าเรื่องดังกล่าวนั้นตกไป
ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. ขอเวลาศึกษาอีก 45 วัน ยังไม่เคาะส่งครม. ทำประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

20 ธันวาคม 2565 วุฒิสภาเห็นชอบให้กมธ. ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อพิจารณาศึกษาญัตติขอให้สภามีมติส่งเรื่องที่มีเหตุสมควรจะให้มีการออกเสียง ประชามติให้คณะรัฐมนตรีดำเนินการ ขยายเวลาพิจารณาออกไปอีก 45 วัน
ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ส.ส.-ประชาชน เริ่มก้าวแรก! เดินหน้าทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ เป็นไปตามกลไก พ.ร.บ.ประชามติฯ ซึ่งให้อำนาจ “รัฐสภา” เสนอทำประชามติได้ ขั้นตอนหลังจากนี้ วุฒิสภาจะเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบญัตติดังกล่าวอีกครั้ง 
ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ
อ่าน

ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 323+1 = 324 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง ต้องส่งต่อให้วุฒิสภาให้ความเห็นชอบอีกเช่นกัน 
แคมเปญล่า 50,000 ชื่อ เสนอครม.ทำประชามติเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

แคมเปญล่า 50,000 ชื่อ เสนอครม.ทำประชามติเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

พรรคก้าวไกลใช้กลไกตามพ.ร.บ. ประชามติ ล่ารายชื่อประชาชน 50,000 ชื่อเพื่อเสนอครม. ให้ทำประชามติว่าต้องการให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสสร. ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนหรือไม่