ส่องข้อห้ามตามกฎหมาย กระบวนการเลือก สว. 67 ทำอะไรไม่ได้บ้าง?
อ่าน

ส่องข้อห้ามตามกฎหมาย กระบวนการเลือก สว. 67 ทำอะไรไม่ได้บ้าง?

การเลือก สว. ชุดใหม่ ปี 2567 ในระบบ “เลือกกันเอง” มีข้อห้ามตามกฎหมายที่หลากหลาย แต่มีอะไรบ้างอ่านได้ที่นี่
ย้อนดูที่มาสว. ทุกชุด สว. 67 ซับซ้อนสุด ผู้สมัครเลือกกันเอง
อ่าน

ย้อนดูที่มาสว. ทุกชุด สว. 67 ซับซ้อนสุด ผู้สมัครเลือกกันเอง

รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ ออกแบบที่มาสมาชิกวุฒิสภา (สว.) แตกต่างกันไปตามประวัติศาสตร์ทางการเมือง อย่างเร็วกลางเดือนกรกฎาคม 2567 คนไทยจะได้ทราบว่าใครจะได้เป็น สว. 200 คนบ้าง แต่ก่อนจะถึงวันนั้น ชวนย้อนดูที่มาของสว. ทุกชุด ตั้งแต่ สว.ชุดแรก หรือที่เรียกกันในสมัยนั้นว่า “พฤฒสภา” เรื่อยมาจนถึงวิธีการได้มาซึ่ง สว.จากการเลือกกันเอง ที่จะมาแทน สว.ชุดพิเศษ 250 คน
ระบบเลือกสว. แบ่งกลุ่ม “เลือกกันเอง” เผยช่องโหว่เพียบเอื้อนายทุน
อ่าน

ระบบเลือกสว. แบ่งกลุ่ม “เลือกกันเอง” เผยช่องโหว่เพียบเอื้อนายทุน

ช่วงกลางปี 2567 จะมีการเลือกสว. ชุดใหม่ตามระบบ “แบ่งกลุ่มอาชีพ” และให้ “เลือกกันเอง” ซึ่งระบบนี้ยังมีช่องโหว่เพียบ ที่อาจทำให้สว. ไม่ได้เป็นตัวแทนของกลุ่มต่างๆ และไม่สะท้อนเสียงประชาชนจริงๆ
เป็น สว. ทำอะไรได้บ้าง? ชวนดูอำนาจ สว. ชุดใหม่ ที่มาจากการเลือกกันเอง
อ่าน

เป็น สว. ทำอะไรได้บ้าง? ชวนดูอำนาจ สว. ชุดใหม่ ที่มาจากการเลือกกันเอง

สว. ชุดพิเศษ 250 คนจะมีอายุครบห้าปีในวันที่ 11 พ.ค. 2567  หลังจากนั้นหน้าตาและที่มาของ สว. ผู้ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายก็จะเปลี่ยนไป สว. ชุดใหม่จากการเลือกกันเอง 200 คน มีวาระห้าปี ไม่มีอำนาจพิเศษแบบ สว. จาก คสช. แต่ยังมีอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติหลายประการ  
เจาะลึกคุณสมบัติ สว. ใหม่! ใครสมัครได้บ้างครั้งนี้
อ่าน

เจาะลึกคุณสมบัติ สว. ใหม่! ใครสมัครได้บ้างครั้งนี้

รัฐธรรมนูญ 2560 กำหนดให้ สว. ชุดใหม่มีจำนวน 200 คน มาจากวิธีการ “เลือกกันเอง” จากกลุ่มผู้สมัครชิงตำแหน่ง สว. จากกลุ่มอาชีพต่างๆ ทั้ง 20 กลุ่ม
รวมวาทะสว. อภิปรายขวางร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนเลือกเศรษฐาเป็นนายกฯ
อ่าน

รวมวาทะสว. อภิปรายขวางร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนเลือกเศรษฐาเป็นนายกฯ

22 สิงหาคม 2566 ในที่ประชุมรัฐสภามีการอภิปราย ก่อนลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 รอบที่สาม สมาชิกวุฒิสภา (สว.) หลายคนได้ลุกขึ้นอภิปรายความเหมาะสมและคุณสมบัติของ “เศรษฐา ทวีสิน” แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย โดยสว.บางคนก็แสดงความเห็นสอดแทรกไปในทางที่ไม่เห็นด้วยหรือยังมีข้อสงสัยที่อยากให้พรรคเพื่อไทยแถลงข้อเท็จจริงให้ชัดเจนในประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่พรรคเพื่อไทยจะผลักดันเป็นวาระแรกเมื่อจัดตั้งรัฐบาลสำเร็จ   
รวมจุดยืนสว. โหวต-ไม่โหวต “เศรษฐา” นั่งนายกฯ
อ่าน

รวมจุดยืนสว. โหวต-ไม่โหวต “เศรษฐา” นั่งนายกฯ

การให้สัมภาษณ์แสดงจุดยืนต่อการโหวตนายกฯ ชื่อ "เศรษฐา ทวีสิน" ของสว. จำนวนหนึ่งยังไม่สามารถเห็นแนวทางที่ชัดเจนได้ เพราะตั้งแต่โหวตนายกฯ รอบแรกจากที่มีการเสนอ “พิธา ลิ้มเจริญรัตน์” แคนดิเดตนายกจากพรรคก้าวไกล ก็มีสว.บางคนที่เปลี่ยนใจจากจุดยืนที่ตัวเองเคยพูดไว้
ทำความรู้จัก ส.ว. ชุดพิเศษ ที่จะเลือกนายกฯ จากการเลือกตั้ง 66
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว. ชุดพิเศษ ที่จะเลือกนายกฯ จากการเลือกตั้ง 66

แม้ผลการเลือกตั้ง 2566 จะพลิกโผ อดีตพรรคฝ่ายค้านรวบรวมเสียงข้างมากได้ ขณะที่พรรคสอง ป. ประยุทธ์-ประวิตร อดีตหัวหน้าและรองหัวหน้า คสช. มีคะแนนนิยมน้อยลง อย่างไรก็ดี หมากที่ คสช. วางไว้ อย่างส.ว.ชุดพิเศษ ที่มีอำนาจโหวตเลือกนายกฯ ร่วมกับ ส.ส. ยังอยู่เลือกนายกฯ ที่มาจากการเลือกตั้ง 2566
ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”

ส.ว.แต่งตั้งชุดพิเศษ 250 คน ใกล้จะหมดวาระในช่วงกลางปี 2567 และส.ว.ชุดใหม่ที่มาแบบใหม่เป็นส.ว.ตามบทหลักภายใต้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อในฐานะสภาสูง แม้อำนาจตามบทเฉพาะกาล เช่น การเลือกนายก​​ฯ ร่วมกับส.ส. นั้นจะสิ้นผลไปตามส.ว.แต่งตั้งชุดแรก แต่อำนาจหลักอื่นๆ ยังคงมีอยู่เต็มมือ
เปิดไทม์ไลน์หลังเลือกตั้ง 2566! อีกกี่วันคนไทยถึงได้รัฐบาลใหม่
อ่าน

เปิดไทม์ไลน์หลังเลือกตั้ง 2566! อีกกี่วันคนไทยถึงได้รัฐบาลใหม่

การเลือกตั้ง 2566 ที่เพิ่งเสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เวลา 17.00 น. ไม่ได้แปลว่าคนไทยจะได้พบกับการบริหารประเทศของผู้ชนะการเลือกตั้งครั้งนี้ในทันที แต่อาจจะกินเวลาประมาณ 65 วัน