2 ร่าง 2 ปัญหา 2 โอกาส: เกมในสภา #แก้รัฐธรรมนูญ ยังไม่จบ ประชาชนต้องสู้ต่อ
อ่าน

2 ร่าง 2 ปัญหา 2 โอกาส: เกมในสภา #แก้รัฐธรรมนูญ ยังไม่จบ ประชาชนต้องสู้ต่อ

สถานการณ์การแก้ไขรัฐธรรมนูญ นับถึงเดือนธันวาคม 2563 เหลือร่าง 2 ฉบับ คือ ฉบับพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล มี 2 ปัญหาต้องช่วยกันคิด จะได้เลือกตั้ง สสร. 100% หรือไม่ และหมวด 1 หมวด 2 จะเขียนใหม่ได้หรือไม่ กับสองโอกาสหากต้องคว่ำข้อเสนอชุดนี้ถ้ายังคงมุ่งสืบทอดอำนาจให้ คสช. ต่ออีก
เครือข่ายประชาชนแถลง ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100%
อ่าน

เครือข่ายประชาชนแถลง ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100%

กว่าร้อยองค์กรร่วมตั้ง “เครือข่ายประชาชนร่างรัฐธรรมนูญเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม” แถลงจุดยืน ตั้ง สสร. ต้องมาจากการเลือกตั้ง 100% และต้องมีอำนาจร่างใหม่ทั้งฉบับ ถ้าไม่เป็นประชาธิปไตยประชาชนพร้อมจะไม่รับร่างนี้
รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย
อ่าน

รัฐบาลคุมเกมแก้รัฐธรรมนูญใน กมธ. เบ็ดเสร็จ ตั้ง ส.ว. ที่ “ไม่เห็นชอบ” มาด้วย

ขั้นตอนต่อไปของการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จะถูกพิจารณาในวาระที่สองโดย กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ 45 คน มีตัวแทนจากพรรคร่วมฝ่ายค้าน 13 คน พรรคร่วมรัฐบาล 17 คน และ ส.ว. 15 คน มีทั้ง ส.ว. 10 คน ที่ "ไม่" ลงมติรับหลักการร่างรัฐธรรมนูญที่เปิดทางให้มีการตั้ง สสร. และมี 2 คน ที่ "ไม่" ลงมติเห็นชอบกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญร่างใดเลย
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา

18 พฤศจิกายน 2563 รัฐสภามีวาระพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากร่าง 7 ฉบับ โดยร่างแก้รัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบของรัฐสภา
เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด

ข้อเสนอวิธีการตั้ง สสร. ของภาคประชาชนที่เปิดให้เข้าชื่อ 50,000 คน เสนอที่มาจากการเลือกตั้ง 100% ไม่มีโควต้าพิเศษสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ต้องแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นจังหวัด ใครอยู่ที่ไหนก็เลือกผู้สมัครได้ทุกคน
เปิดโมเดลตั้ง สสร. ของพรรครัฐบาล เลือกตั้ง 150 + แต่งตั้ง 50
อ่าน

เปิดโมเดลตั้ง สสร. ของพรรครัฐบาล เลือกตั้ง 150 + แต่งตั้ง 50

ถึงคราวที่พรรครัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาลจะเสนอแนวทางของตัวเองบ้าง โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง "บางส่วน" และให้มีสัดส่วน สสร. ที่มาจากการเลือกของรัฐสภา และการแต่งตั้งที่คัดเลือก "ผู้เชี่ยวชาญ" รวมถึงบรรดานักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่มาจากวิธีการของ กกต.
ยุบสภาอย่างไร ให้ได้ประชาธิปไตยคืนมา
อ่าน

ยุบสภาอย่างไร ให้ได้ประชาธิปไตยคืนมา

ข้อเรียกร้องให้รัฐบาล "ยุบสภา" เริ่มดังขึ้นเรื่อยๆ เมื่อกลุ่มนักเรียนนักศึกษาทั่วประเทศกำลังกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง  แต่ทว่าคำถามสำคัญคือ ระหว่างการยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ กับการแก้รัฐธรรมนูญก่อนแล้วจึงยุบสภา แนวทางไหนที่มีความเป็นไปได้มากกว่ากันที่จะพาประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตย  
เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
แก้รัฐธรรมนูญ: พรรคการเมืองชูภาคประชาชนเป็นเจ้าของประเด็นรัฐธรรมนูญ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: พรรคการเมืองชูภาคประชาชนเป็นเจ้าของประเด็นรัฐธรรมนูญ

30 กันยายน 2562 เวทีสาธารณะ “การปฏิรูปสังคม-เศรษฐกิจ-การเมืองไทย กับการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย” โดยภาคประชาชนและพรรคการเมือง
ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?