ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม: แก้ไขกฎหมายชัดขึ้นให้ “ผู้พิพากษาบริหาร” กำหนดเบี้ยประชุม
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม: แก้ไขกฎหมายชัดขึ้นให้ “ผู้พิพากษาบริหาร” กำหนดเบี้ยประชุม

วันที่ 25 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) รับหลักการ ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ….) ด้วยคะแนนเห็นชอบ 181 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง เหตุผลของการเสนอ ร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ คือ การเพิ่มอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ให้สามารถออกระเบียบกำหนดเบี้ยประชุมสำหรับข้าราชการตุลาการซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ในศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 193 วรรคสอง ซึ่งบัญญัติให้ศาลยุติธรรมมีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสม
ร่าง พ.ร.บ.พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เสนอปฎิรูปเชิงองค์กร นำรัฐวิสาหกิจเข้าสู่บรรษัท
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.พัฒนารัฐวิสาหกิจฯ เสนอปฎิรูปเชิงองค์กร นำรัฐวิสาหกิจเข้าสู่บรรษัท

วันที่ 1 ก.ย. 2560 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  รับหลักการร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ โดยจะมีการนำรัฐวิสาหกิจเข้ามาอยู่รวมกันภายใต้บรรษัทวิสาหกิจ ซึ่งจะมีรัฐวิสาหกิจจำนวน 11 แห่ง รวมทั้งมีการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ 
อ่าน

สนช. แก้ที่มาคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) ผู้พิพากษาเลือกกันเองหมด เลิกระบบ ส.ว. ช่วยเลือก

การยื่นถอดถอน ชำนาญ รวิวรรณพงษ์ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” ทำให้สังคมได้รู้จักชื่อของ "คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม"  หรือ ก.ต. มากขึ้น ก.ต. เป็นหนึ่งในสามองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บริหารงานของศาลยุติธรรม และ สนช. กำลังพิจารณาแก้ไขที่มาของ ก.ต. ซึ่งจะทำให้ผู้พิพากษาเป็นผู้เลือกเองทั้งหมด
อ่าน

ผลงานสภาปฏิรูป? เสนอร่างพ.ร.บ. 105 ฉบับ สี่ปีผ่านเป็นกฎหมายได้จริง 6 ฉบับ

สภาปฏิรูปทั้งสองแห่ง ใช้งบประมาณไปกว่าพันเจ็ดร้อยล้านบาท ผลิตข้อเสนอมากว่าพันข้อ โดยเป็นการเสนอร่างพ.ร.บ. อย่างน้อย 105 ฉบับ แต่ตลอดสี่ปีในการออกกฎหมายอย่างรวดเร็วของ สนช. ก็หยิบข้อเสนอเหล่านี้มาผ่านเป็นกฎหมายไปแล้วเพียง 6 ฉบับเท่านั้น
อ่าน

สี่ปี สนช.: ผ่านกฎหมายแปดฉบับอนุมัติงบประมาณ 14 ล้านล้านบาท ให้ คสช.

สนช. เห็นชอบ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ รวมแล้วสี่ฉบับ และร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ ฉบับที่ห้า กำลังอยู่ในระหว่างการพิจารณานอกจากนี้ สนช. ยังมีมติเห็นชอบ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำฯ รวมทั้งหมดสามฉบับด้วยกัน ตลอดสี่ปี สนช. ไฟเขียวงบประมาณให้ คสช. เป็นวงเงินทั้งสิ้น 14 ล้านล้านบาท โดยอนุมัติผ่านกฎหมายจำนวนแปดฉบับ
อ่าน

สี่ปี สนช.: เลือก 60 คนนั่ง 13 องค์กรตรวจสอบ ช่วย คสช. ยึดประเทศอย่างช้าๆ

สมาชิก สนช. มาจากการแต่งตั้งโดย คสช. ดังนั้นจึงเป็นตัวแทนของฝ่ายบริหารที่มาทำหน้าที่คัดเลือกคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ควรจะต้องทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของ คสช. สี่ปีที่ผ่านมา สนช. ได้ลงมติเห็นชอบเพื่อคัดเลือกคนที่ คสช. ไว้ใจเข้าไปดำรงตำแหน่งสำคัญๆ 60 ตำแหน่ง
อ่าน

สี่ปี สนช.: “เตะถ่วง” ไม่ผ่านยืดเวลากฎหมายกระทบนายทุนและตัวเอง

ลักษณะที่โดดเด่นของ สนช. คือเป็นเครื่องจักรผลิตกฎหมายจำนวนมากให้กับ คสช. ภายในระยะเวลาสี่ปีที่ผ่านมา สนช. เห็นชอบกฎหมายไปแล้วไม่ต่ำกว่า 298 ฉบับ จนเป็นผลงานที่ภาคภูมิใจของบรรดาสมาชิก สนช. และรัฐบาล คสช. ซึ่งตลอดระยะเวลาการทำงานของ สนช. ยังไม่พบว่ามีร่างกฎหมายฉบับใดที่จะถูกปัดตกไป
สี่ปี สนช.: “สภาตามสั่ง” ผ่านกฎหมายเพิ่มอำนาจ-ปูทาง คสช. อยู่ยาว
อ่าน

สี่ปี สนช.: “สภาตามสั่ง” ผ่านกฎหมายเพิ่มอำนาจ-ปูทาง คสช. อยู่ยาว

สนช. เป็นสภาที่มาจากการแต่งตั้งของ คสช. หน้าที่สำคัญคือ การออกกฎหมายให้กับรัฐบาล คสช. สี่ปีที่ผ่าน สนช. เห็นชอบกฎหมายไปแล้วอย่างน้อย 298 ฉบับ ซึ่งกฎหมายจำนวนหนึ่งมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ คสช. ใช้เป็นเครื่องมือในการรักษาอำนาจทางการเมือง
ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันองค์การระหว่างประเทศฯ: องค์การระหว่างประเทศห้ามกระทบความมั่นคง และแทรกแซงกิจการภายใน

สนช. รับหลักการร่าง พ.ร.บ.เอกสิทธิ์และความคุ้มกันสำหรับองค์การระหว่างประเทศฯ ซึ่งจะกำหนดเอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างเป็นทางการให้กับองค์การระหว่างประเทศที่จะมาตั้งสำนักงานในไทย และบุคลากรของหน่วยงานดังกล่าว รวมถึงการประชุม และผู้เข้าร่วมการประชุมประหว่างประเทศด้วย
อ่าน

สนช. แก้ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ 2 ครั้ง เพิ่มพระราชอำนาจตั้งสมเด็จพระสังฆราช และกรรมการมหาเถรสมาคม

ในสมัยของ สนช. สภาแต่งตั้งจาก คสช. พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ได้รับการแก้ไขถึงสองครั้ง และกระบวนการพิจารณาทั้งสองครั้งก็ใช้เวลาเห็นชอบเป็นกฎหมายภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ในด้านเนื้อหาสาระการแก้ไขเพิ่มเติมสองครั้งมีสาระสำคัญคือการเพิ่มอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งผู้บริหารคณะสงฆ์