ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ
อ่าน

ทำงานเกือบ 5 ปี! กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เปิดงานชิ้นใหญ่ รายงาน 398 หน้า เรื่องคุณูปการสถาบันฯ

กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ออกผลงานชิ้นใหญ่ เป็นรายงานความยาว 398 หน้า เรื่อง คุณูปการของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและฝ่ายนิติบัญญัติ
ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์
อ่าน

ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์

7 พฤศจิกายน 2565 ที่ประชุมวุฒิสภมีมติมิให้เปิดเผยบันทึกการประชุม จำนวน 10 ครั้ง ของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย (ไม่ให้เปิดเผย) 129+10 = 137 เสียง ไม่เห็นด้วย (เห็นควรให้เปิดเผย) 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง
วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร
อ่าน

วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร

กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญที่เคยมีในยุคของสนช. และวุฒิสภาชุดปัจจุบันก็ตั้งคณะกรรมาธิการชุดดังกล่าวขึ้นมาปฏิบัติหน้าที่ต่อ การประชุมแต่ละครั้งของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล้วนแต่ถูกปิดตราประทับ “ลับ” ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน
เปิดชุดข้อเสนอสำเร็จรูป #แก้รัฐธรรมนูญ ปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์
อ่าน

เปิดชุดข้อเสนอสำเร็จรูป #แก้รัฐธรรมนูญ ปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์

10 ส.ค. 2564 รศ. ปิยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการคณะก้าวหน้า เผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หมวด 2 พระมหากษัตริย์ สาระสำคัญ คือ การจัดตำแหน่งแห่งที่รวมไปถึงบทบาทและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ และจัดระบบงบประมาณสำหรับสถาบันพระมหากษัตริย์ให้สภาผู้แทนราษฎรอนุมัติและองค์กรอื่นเข้ามาตรวจสอบได้
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
เปิดงบประมาณสถาบันพระมหากษัตริย์ 10 ปีย้อนหลัง (บางส่วน)
อ่าน

เปิดงบประมาณสถาบันพระมหากษัตริย์ 10 ปีย้อนหลัง (บางส่วน)

ตลอดระยะเวลา 10 ปี ภายใต้นายกรัฐมนตรีสามคน ทิศทางความเปลี่ยนแปลงงบประมาณเป็นอย่างไร สำรวจได้ในบทความนี้
หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ
อ่าน

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ (The King Can Do No Wrong) ตามรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ

หลักพระมหากษัตริย์ทรงกระทำผิดมิได้ ไม่ได้ห้ามมิให้บุคคลฟ้องพระมหากษัตริย์ ดังที่ปรากฏใน "มาตรา 6" รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเพียงอย่างเดียว แต่มีหลักการอื่นที่กำกับควบคุมพระราชอำนาจประกอบกันด้วย คือ หลักการที่ว่า กษัตริย์ไม่มีพระราชอำนาจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตัวเอง ต้องมีผู้ลงนามรับสนอง
10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ
อ่าน

10 ข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ใช้รัฐสภาแก้กฎหมายได้ 5 ข้อ

ชวนพิจารณาข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ทั้ง 10 ข้อ หากจะนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้ มีอย่างน้อย 5 ข้อ ที่ต้องอาศัยกระบวนการออกกฎหมายของรัฐสภาเป็นกลไกสำคัญ ส่วนอีก 5 ข้อนั้น ต้องอาศัยการปฏิรูปทัศนคติของคนในสังคมและวัฒนธรรมความเชื่อ
ฝ่ายอนุรักษ์นิยมหวังยืมมือศาลรัฐธรรมนูญ “ล้มกระดาน” ม็อบคณะราษฎร
อ่าน

ฝ่ายอนุรักษ์นิยมหวังยืมมือศาลรัฐธรรมนูญ “ล้มกระดาน” ม็อบคณะราษฎร

การชุมนุม "ขยับเพดาน" ของกลุ่มนักศึกษา ทำให้ฝ่ายอนุรักษ์นิยม นำโดย "ณฐพร โตประยูร" อดีตนักร้อง(เรียน)ที่เคยยื่นเรื่องยุบพรรคอนาคตใหม่มาก่อน ได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญอีกครั้ง โดยความฝันอันสูงสุด ไม่ใช่แค่การสกัดการชุมนุมของประชาชน แต่เป็นความพยายามในการ "ล้มกระดาน" การจัดชุมนุมของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่เรียกตัวเองว่า "คณะราษฎร"