คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ
อ่าน

คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ

ตลอดระยะเวลาที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) อยู่ในอำนาจ การบังคับใช้และดำเนินคดีบุคคลด้วยข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นหนึ่งในประเด็นสาธารณชนสนใจ แม้ว่า ปรากฎการณ์เช่นนี้ที่จริงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปี 2550 แล้ว แต่หลังการยึดอำนาจของ คสช.
อ่าน

สนช.อนุมัติขึ้นเงินเดือนทหาร : ทหารได้ขึ้นเงินเดือน ประชาชนได้อะไร?

สี่ปีภายใต้ คสช. สนช.ที่มีทหารอยู่ 145 คน อนุมัติขึ้นเงินเดือนทหารสามครั้ง ท่ามกลางปัญหาอุปสรรคจากเศรษฐกิจ ที่พบว่า ประชาชนไม่พอใจผลงานและเป็นสิ่งที่อยากให้ คสช. เร่งแก้ไขมากที่สุด ไอลอว์ชวนจับตา สนช. ย้อนดูการอนุมัติขึ้นเงินเดือนทหารในแต่ละครั้ง
กันยายน 2560: ยกฟ้องคดีก่อความวุ่นวายประชามติ – ไต่สวนนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลขอนแก่น เตรียมพิพากษาพฤศจิกายนนี้
อ่าน

กันยายน 2560: ยกฟ้องคดีก่อความวุ่นวายประชามติ – ไต่สวนนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลขอนแก่น เตรียมพิพากษาพฤศจิกายนนี้

เดือนกันยายนมีความเคลื่อนไหวคดีเสรีภาพเกิดขึ้นหลายคดี ในจำนวนนั้นมีคำพิพากษาที่น่าสนใจออกมาหนึ่งคดีได้แก่คดีปิยรัฐ ฉีกบัตรประชามติซึ่งศาลจังหวัดพระโขนงชี้ว่าการถ่ายวิดีโอเหตุการณ์การฉีกบัตรและโพสต์คลิปลงบนเฟซบุ๊กไม่ถือเป็นการก่อความวุ่นวายในหน่วยออกเสียง ขณะเดียวกันก็มีความเคลื่อนไหวคดี 112 ที่สำคัญได้แก่คดีของทนายประเวศซึ่งแถลงขอถอนทนายและไม่ร่วมกระบวนการพิจารณาคดีเพราะเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ไม่ชอบธรรม นอกจากนี้ก็มีกรณีที่ศาลทหารทั้งที่กรุงเทพและขอนแก่นเลื่อนการพิจารณาคดีเสรีภาพห้าคดีเพราะพยานโจทก์ไม่มาศาล
Military Rule: เราควรเรียนรู้จากศาลทหาร
อ่าน

Military Rule: เราควรเรียนรู้จากศาลทหาร

ฟังความเห็น ‘ภาวิณี ชุมศรี; หัวหน้าฝ่ายคดีของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน’ ต่อการพิจารณาคดีของศาลทหาร
Military Rule: ศาลทหาร เราทำตามกฎหมายอย่างเดียว
อ่าน

Military Rule: ศาลทหาร เราทำตามกฎหมายอย่างเดียว

พูดคุยกับ พลตรีธานินทร์ ทุนทุสวัสดิ์ ตุลาการพระธรรมนูญหัวหน้าคณะฝ่ายศาลทหารสูงสุด ถึงการทำงานของศาลทหาร
บทสรุปการต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร
อ่าน

บทสรุปการต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร

การใช้ศาลทหารพิจารณาคดีของพลเรือนและดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีประชาชนอย่างน้อย 2,177 คน ตกเป็นจำเลยในอย่างน้อย 1,720 คดีและต้องถูกดำเนินคดีที่ ศาลทหาร (ข้อมูล 22 พ.ค. 2557 – 30 พฤศจิกายน 2559) ในจำนวนนี้เป็นคดีที่มีมูลเหตุจูงใจเกี่ยวกับการเมืองซึ่งมี คสช. เป็นคู่ตรงข้าม อย่างน้อย 92 คดี
ศาลทหารบราซิล: ส่วนผสมระหว่างพลเรือนและกองทัพ
อ่าน

ศาลทหารบราซิล: ส่วนผสมระหว่างพลเรือนและกองทัพ

หลังการรัฐประหารปี 1964 ของบราซิล รัฐบาลทหารได้ผ่านกฎหมายลิดรอนสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ประชาชนโดยเฉพาะผู้ที่ต่อต้านและวิจารณ์รัฐบาลถูกนำขึ้นพิจารณาคดีในศาลทหาร ซึ่งประกอบด้วยบุคคลากรทั้งจากฝ่ายพลเรือนและกองทัพทำงานร่วมกัน กลุ่มภาคประชาสังคมต่างๆ ยังสามารถเข้าถึงและจับตากระบวนการพิจารณาคดีและรณรงค์เพื่อไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้
ศาลทหารพิเศษในชีลี: สถาบันที่รับรองความชอบด้วยกฎหมายให้การปราบปรามศัตรูทางการเมืองของปิโนเช่
อ่าน

ศาลทหารพิเศษในชีลี: สถาบันที่รับรองความชอบด้วยกฎหมายให้การปราบปรามศัตรูทางการเมืองของปิโนเช่

รัฐประหารในค.ศ. 1973 ล้มรัฐบาลฝ่ายซ้ายจากการเลือกตั้งของซัลวาเดอร์ อาเลนเด้ ต้นเหตุมาจากการปฎิรูปทางการเมืองแบบสุดโต่งที่มีเป้าหมายจะปฏิรูปสภานิติบัญญัติและโอนอุตสาหกรรมสำคัญมาเป็นของรัฐบาล ศาลทหารดำเนินคดีเอาผิดศัตรูทางการเมืองโดยใช้กฎหมายความมั่นคงแห่งรัฐ ค.ศ. 1958 และกฎหมายควบคุมอาวุธ ค.ศ. 1972 ซึ่งตลกร้ายตรงที่ว่ากฎหมายสองฉบับนี้ถูกตราขึ้นโดยรัฐบาลของอาเลนเด้เอง 
ความยุติธรรมโดยทหารของสหรัฐอเมริกา: กระบวนการพิเศษย้อนหลังสำหรับผู้ต้องสงสัยก่อการร้าย
อ่าน

ความยุติธรรมโดยทหารของสหรัฐอเมริกา: กระบวนการพิเศษย้อนหลังสำหรับผู้ต้องสงสัยก่อการร้าย

ศาลทหารทั้ง 3 ประเภทกำลังถูกใช้อยู่ในคดีที่จำเลยเป็นทหาร รวมถึงคดีของเชลซี แมนนิ่ง และเบิร์กดาลห์ ซึ่งเป็นที่ถกเถียงอย่างกว้างขวาง ภายหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน รัฐสภาของสหรัฐฯ ได้ให้อำนาจคณะกรรมาธิการทหารในการไต่สวนผู้ต้องสงสัยคดีก่อการร้าย ทั้งในคดีที่เกิดขึ้นก่อนการออกกฎหมาย โดยปราศจากหลักกระบวนการอันควรตามกฎหมาย