ทำความรู้จัก ส.ว. ชุดพิเศษ ที่จะเลือกนายกฯ จากการเลือกตั้ง 66
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว. ชุดพิเศษ ที่จะเลือกนายกฯ จากการเลือกตั้ง 66

แม้ผลการเลือกตั้ง 2566 จะพลิกโผ อดีตพรรคฝ่ายค้านรวบรวมเสียงข้างมากได้ ขณะที่พรรคสอง ป. ประยุทธ์-ประวิตร อดีตหัวหน้าและรองหัวหน้า คสช. มีคะแนนนิยมน้อยลง อย่างไรก็ดี หมากที่ คสช. วางไว้ อย่างส.ว.ชุดพิเศษ ที่มีอำนาจโหวตเลือกนายกฯ ร่วมกับ ส.ส. ยังอยู่เลือกนายกฯ ที่มาจากการเลือกตั้ง 2566
ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”

ส.ว.แต่งตั้งชุดพิเศษ 250 คน ใกล้จะหมดวาระในช่วงกลางปี 2567 และส.ว.ชุดใหม่ที่มาแบบใหม่เป็นส.ว.ตามบทหลักภายใต้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อในฐานะสภาสูง แม้อำนาจตามบทเฉพาะกาล เช่น การเลือกนายก​​ฯ ร่วมกับส.ส. นั้นจะสิ้นผลไปตามส.ว.แต่งตั้งชุดแรก แต่อำนาจหลักอื่นๆ ยังคงมีอยู่เต็มมือ
จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.
อ่าน

จับตา! ประชุมวุฒิสภา เคาะ ป.ป.ช. – คตง. คนใหม่ ตั้ง กมธ.สอบประวัติฯ ผู้ได้เสนอชื่อเป็น กกต. – ป.ป.ช.

23 พฤษภาคม 2566 วุ…
เลือกตั้ง66:  เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง66: เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?

การเลือกตั้งครั้งน…
เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย
อ่าน

เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย

อย่างที่ทราบกันดีว่า การมีส่วนร่วมในการโหวตเลือกนายกฯ ของ ส.ว. ชุดพิเศษ เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย เพราะ ส.ว.ทั้งหมดมาจากการแต่งตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นตัวแทนของประชาชน โดยในจำนวน ส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน มีตัวแทนจากผู้บัญชาการเหล่าทัพ 6 คน
ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66
อ่าน

ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66

แม้ 20 มีนาคม 2566 จะมีประกาศยุบสภา องค์กรที่เปลี่ยนแปลงโดยตรงคือสภาผู้แทนราษฎร ที่จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ขณะที่วุฒิสภาชุดพิเศษ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ยังมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 2566 และมีวาระห้าปี ถึง พ.ค. 2567
ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
อ่าน

ส.ว. โหวตคว่ำ! 157 : 12 เสียง ไม่ส่งครม. ทำประชามติ จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ

21 ก.พ. 2566 ที่ประชุมวุฒิสภามีมติ “ไม่เห็นด้วย” กับการส่งให้ครม. จัดทำประชามติเพื่อถามประชาชนว่าสมควรจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับหรือไม่ ด้วยคะแนนเสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง เห็นด้วย 12 เสียง งดออกเสียง 13 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง เป็นอันว่าเรื่องดังกล่าวนั้นตกไป
ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์
อ่าน

ส.ว. เสียงไม่แตก โหวตปิดลับบันทึกประชุมกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล่าสุดจัดงานสัมมนาการพีอาร์ออนไลน์

7 พฤศจิกายน 2565 ที่ประชุมวุฒิสภมีมติมิให้เปิดเผยบันทึกการประชุม จำนวน 10 ครั้ง ของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย (ไม่ให้เปิดเผย) 129+10 = 137 เสียง ไม่เห็นด้วย (เห็นควรให้เปิดเผย) 0 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง
จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66

ช่วง “โค้งสุดท้าย” ของสภา จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อกระบวนการจัดทำและแก้ไขกฎหมายต่างๆ หากพิจารณาร่างกฎหมายไม่ทัน ร่างกฎหมายก็จะตกไปและต้องริเริ่มกันใหม่ในสมัยประชุมหน้า
ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ตกไปแม้เคยผ่านสภา เหตุพระมหากษัตริย์ทรงวีโต้และรัฐสภามีมติไม่ยืนยัน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ตกไปแม้เคยผ่านสภา เหตุพระมหากษัตริย์ทรงวีโต้และรัฐสภามีมติไม่ยืนยัน

6 กันยายน 2565 รัฐสภามีมติไม่ยืนยันร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ที่พระมหากษัตริย์ทรงวีโต้ด้วยคะแนนเสียงไม่เห็นด้วย (ไม่ยืนยัน) 431 เสียง เห็นด้วย (ยืนยัน) 1 เสียง งดออกเสียง 28 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 ด้วย จึงเป็นอันตกไป