Recap : วรเจตน์ ฝากนักกฎหมายในระบบราชการ ยึดหลักวิชาชีพจะบรรเทาวิกฤติ 112
อ่าน

Recap : วรเจตน์ ฝากนักกฎหมายในระบบราชการ ยึดหลักวิชาชีพจะบรรเทาวิกฤติ 112

13 พฤศจิกายน 2565 ที่ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มูลนิธิสิทธิอิสรา จัดเสวนาสาธารณะหัวข้อ “112 กับ สถาบันกษัตริย์ : 1 ทศวรรษเพื่อการทบทวน” โดยศาสตราจารย์วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ผู้ชนะคดีฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ชี้บทบาทศาลควรตรวจสอบกฎหมายของคณะรัฐประหาร
อ่าน

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ผู้ชนะคดีฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ชี้บทบาทศาลควรตรวจสอบกฎหมายของคณะรัฐประหาร

8 มิถุนายน 2564 วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ารับฟังคำพิพากษาของศาลแขวงดุสิต และศาลพิพากษายกฟ้องเรียบร้อย หลังเสร็จสิ้นคดีที่ต่อสู้มานยาวนาน 7 ปี พอๆ กับอายุของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
88 ปี ประชาธิปไตยไทย: กฎหมาย นิติรัฐ ในทัศนะของวรเจตน์ ภาคีรัตน์
อ่าน

88 ปี ประชาธิปไตยไทย: กฎหมาย นิติรัฐ ในทัศนะของวรเจตน์ ภาคีรัตน์

24 มิถุนายน 2563 รายการ “The Politics 88 ปี ประชาธิปไตยไทย” ได้ถ่ายทอดการสนทนากับศาสตราจารย์ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยบทสนทนามุ่งเน้นไปถึงหลักนิติรัฐที่วางรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แนวคิดทางกฎหมาย และประชาธิปไตยในประเทศไทย
หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ
อ่าน

หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ

22 พฤษภาคม 2563 คร…
4 ปี คสช. เห็นแนวโน้มคดีการเมืองใช้เพียง “ขู่” ให้กลัว ไม่ได้มุ่งจับคนไปติดคุกนานๆ
อ่าน

4 ปี คสช. เห็นแนวโน้มคดีการเมืองใช้เพียง “ขู่” ให้กลัว ไม่ได้มุ่งจับคนไปติดคุกนานๆ

ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 จนถึง 22 พฤษภาคม 2561 เป็นเวลาสี่ปีพอดีที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของ คสช. ซึ่งเป็นยุคสมัยที่มีการจับกุมและดำเนินคดีประชาชนจากการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองจำนวนมาก ผู้ใช้อำนาจรัฐยุคนี้ก็มีเครื่องมือทาง “กฎหมาย” หลายข้อด้วยกันให้เลือกหยิบมาใช้จำกัดสิทธิของประชาชนที่มีความเห็นต่างกับ คสช. ได้คสช.
นักวิชาการจี้กรรมการสิทธิฯ หาทางออกมาตรา 112
อ่าน

นักวิชาการจี้กรรมการสิทธิฯ หาทางออกมาตรา 112

อนุกรรมการด้านสิทธิฯ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน จัดวงพูดคุยแลกเปลี่ยนปัญหา กรณีการบังคับใช้มาตรา 112 โดยมีนักวิชาการ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ และผู้เข้าร่วมรับฟังอื่นๆเป็นจำนวนมาก