Prachamati.org บทบาทในการสร้างพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับการร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

Prachamati.org บทบาทในการสร้างพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับการร่างรัฐธรรมนูญ

การสร้างการมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญบนพื้นที่ออนไลน์มีความท้าทาย เพราะสถานการณ์การเมืองปัจจุบัน มีเงื่อนไขทำให้การมีส่วนร่วมมีข้อจำกัด เช่น การร่างรัฐธรรมนูญมีพิมพ์เขียวเบื้องต้น เสรีภาพในการแสดงออก ถูกปิดกั้น ประชาชนบางกลุ่มปฏิเสธกระบวนการตั้งแต่ต้น หรือ ความไม่แน่นอนในการร่างรัฐธรรมนูญ  
กระบวนการพิจารณาออกกฎหมายตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

กระบวนการพิจารณาออกกฎหมายตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558

รัฐธรรมนูญฉบับ 'คสช.' ได้กำหนดรูปแบบกระบวนการพิจารณาออกกฎหมายใหม่ จากเดิมที่ให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้พิจารณากฎหมายและวุฒิสภามีหน้าที่กลั่นกรองตรวจสอบ กลายเป็นให้อำนาจพิจารณากฎหมายบางประเภทกับวุฒิสภา ซึ่งมาจากการสรรหา และการเลือกตั้งผู้ที่กลั่นกรองแล้ว นอกจากนี้ยังมีแนวทางใหม่สำหรับกฎหมายที่ถูกเสนอโดยประชาชน ว่าอาจจะมีการลง 'ประชามติ'
“ร่วมจับตาอนาคต ที่คนกำหนดไม่ใช่เรา”
อ่าน

“ร่วมจับตาอนาคต ที่คนกำหนดไม่ใช่เรา”

รวมประเด็นที่น่าสนใจรายวัน เกี่ยวกับการอภิปรายร่างรัฐธรรมนูญของ สปช. ระหว่างวันที่ 20-26 เมษายน 2558
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่

กมธ.ยกร่างรธน.คือองค์กรสุดท้ายของรธน.ชั่วคราว 2557 หน้าที่สำคัญคือการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อนำไปสู่การเลือกตั้ง โดยกรอบระยะเวลาการทำงานพวกเขามีระยะเวลาประมาณ 1 ปี หลังจากนี้ ด้วยเหตุนี้ที่มา คุณสมบัติ ของพวกเขาเป็นอย่างไร และขั้นตอนการร่างรัฐธรรมนูญจากนี้จะเป็นอย่างไร?  
สภาปฎิรูปแห่งชาติ: ขั้นตอนมากมาย ความหมายเท่าเดิม
อ่าน

สภาปฎิรูปแห่งชาติ: ขั้นตอนมากมาย ความหมายเท่าเดิม

อีกไม่นานเราจะเห็นหน้าตาสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ซึ่งนับว่าเป็นสถาบันทางการเมืองรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นครั้งแรกในการเมืองไทย ซึ่งจะมีผลต่ออนาคตของประเทศโดยเฉพาะการมีส่วนเสนอเนื้อหาและเห็นชอบในการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ดังนั้นจึงมีความสำคัญอย่างมากที่จะทำความเข้าใจว่า สปช. คืออะไร มีหน้าที่ และที่มาที่ไปอย่างไรบ้าง