คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ
อ่าน

คดี112 ภายใต้ “สี่ปี คสช.” สถานการณ์ตั้งแต่ตึงเครียดสูงสุด และผ่อนคลายอย่างไม่น่าเชื่อ

ตลอดระยะเวลาที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) อยู่ในอำนาจ การบังคับใช้และดำเนินคดีบุคคลด้วยข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นหนึ่งในประเด็นสาธารณชนสนใจ แม้ว่า ปรากฎการณ์เช่นนี้ที่จริงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงปี 2550 แล้ว แต่หลังการยึดอำนาจของ คสช.
สามปี คสช. วางฐานอำนาจ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
อ่าน

สามปี คสช. วางฐานอำนาจ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

รวมผลงานสามปีเต็มแล้ว ตั้งแต่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ทำรัฐประหารและเข้าปกครองประเทศ ใช้อำนาจออกประกาศ/คำสั่งเองโดยตรงอย่างน้อย 584 ฉบับ และแต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ขึ้นมาออกกฎหมายไปแล้วอย่างน้อย 239 ฉบับ 
พฤษภาคม 2560: ขวางจัดรำลึกเหตุการณ์ปี 53′ – สองจำเลยคดี 112 เปลี่ยนใจรับสารภาพ
อ่าน

พฤษภาคม 2560: ขวางจัดรำลึกเหตุการณ์ปี 53′ – สองจำเลยคดี 112 เปลี่ยนใจรับสารภาพ

  เดือนพฤษภาคมเป็นเดือนที่ คสช. และฝ่ายความมั่นคง ต้องจับตาสถานการณ์เป็นพิเศษ เพราะมีวันครบรอบเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญเกิดขึ้นอย่างน้อยสามเหตุการณ์ ได้แก่ เหตุการณ์สลายการชุมนุมปี 2535 หรือเหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เหตุการณ์สลายการชุมนุมของกลุ่มแนวประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติหรือกลุ่ม นปช.
สามปีแล้วสินะ:  ประชาชนต่อสู้เพื่อสิทธิได้แค่ไหน อะไรบ้าง ?
อ่าน

สามปีแล้วสินะ: ประชาชนต่อสู้เพื่อสิทธิได้แค่ไหน อะไรบ้าง ?

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ระยะสามปีการคงอำนาจรัฐบาล คสช. มีเรื่องราวเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนเกิดขึ้นมากมาย มีบ้างที่พยายามใช้ช่องทางกฎหมายที่มีอยู่น้อยนิดในการต่อสู้กับผู้มีอำนาจ ซึ่งทั้งหมดเป็นบทเรียนสำคัญ
ใครออกกฎหมาย? 1: “สภาทหาร-สภาผลประโยชน์” เมื่อคนใกล้ชิดผู้นำประเทศอยู่เต็มสนช.
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 1: “สภาทหาร-สภาผลประโยชน์” เมื่อคนใกล้ชิดผู้นำประเทศอยู่เต็มสนช.

สมาชิกสนช. 250 คน ถูกแต่งตั้งจากหัวหน้า คสช. จำนวนเกินครึ่งของสภาเป็นทหาร และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ คสช. ทั้งในฐานะเพื่อนร่วมรุ่น ผู้บังคับบัญชา และเครือญาติ
สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์
อ่าน

สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์

นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม
ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในการใช้ชีวิตของประชาชน
คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?
2014 Situation Summary Report 5/5: Self-censorship, restricted access to online media, and the shutdown of community radio before and after the coup
อ่าน

2014 Situation Summary Report 5/5: Self-censorship, restricted access to online media, and the shutdown of community radio before and after the coup

At the beginning of 2014, the heated protests of the People’s Democratic Reform Committee (PDRC), which had begun in November 2013, were ongoing. The protests continued until 20 May 2014 when the Royal Thai Army claimed that the PDRC and other political protests could lead to unrest and violence and therefore declared martial law.