เลือกตั้ง 62: ปัจจัยที่ทำให้การเลื่อนเลือกตั้งครั้งที่ห้าไม่ง่ายสำหรับ คสช.
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ปัจจัยที่ทำให้การเลื่อนเลือกตั้งครั้งที่ห้าไม่ง่ายสำหรับ คสช.

วันเลือกตั้งที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กำหนดไว้ว่า เป็นวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2562 มีแนวโน้มจะถูกเลื่อนออกไปอีกเป็นครั้งที่ 5 แต่การเลื่อนเลือกตั้งครั้งนี้ของ คสช. อาจไม่ง่ายเหมือนสี่ครั้งก่อนหน้านี้ เพราะในจังหวะนี้ต้องเจอกับเงื่อนไขและแรงกดดันต่างๆ ที่ไม่เคยเจอมาก่อน
สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนประชาชนลงชื่อกล่าวหา ป.ป.ช.
อ่าน

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนประชาชนลงชื่อกล่าวหา ป.ป.ช.

สมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย เชิญชวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันลงชื่อ 20,000 รายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 236 และ 237 กล่าวหาและดำเนินการเอาผิด ป.ป.ช. กรณีตรวจสอบทรัพย์สิน พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ
‘สามทางเลือก’ เลือกตั้งไม่กระทบพระราชพิธีแต่เสี่ยงล้มเลือกตั้ง
อ่าน

‘สามทางเลือก’ เลือกตั้งไม่กระทบพระราชพิธีแต่เสี่ยงล้มเลือกตั้ง

ด้วยเงื่อนปมว่าต้องจัดการเลือกตั้งให้แล้วเสร็จภายใน 150 วัน ประกอบกับความต้องการของรัฐบาลที่ไม่ได้ต้องการให้การเลือกตั้งทับซ้อนกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทำให้ทางเลือกของการจัดการเลือกตั้งมีอยู่อย่างน้อย 3 แนวทาง คือ ไม่เลื่อนแต่ทำให้เสร็จสิ้นเร็วขึ้น หรือ แก้รัฐธรรมนูญ หรือ เลื่อนนิดหน่อยแต่แบกความเสี่ยงล้มเลือกตั้ง
เลือกตั้ง 62: ข้อจำกัดด้านอายุของผู้แทนปวงชนชาวไทย ในรัฐสภา
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ข้อจำกัดด้านอายุของผู้แทนปวงชนชาวไทย ในรัฐสภา

จากกระแสการเมืองของคนรุ่นใหม่สำหรับสนามการเลือกตั้งที่จะถึงในปี 2562 และการเปิดตัวทีมงาน "คนรุ่นใหม่" หรือผู้สมัครอายุน้อยๆ ของพรรคการเมืองต่างๆ ที่น่าจับตามอง ไอลอว์ชวนดูข้อจำกัดด้านอายุของนักการเมืองตามรัฐธรรมนูญไทย จากสมัยก่อนจนถึงสมัยนี้
อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.
อ่าน

อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.

ในยุค คสช. กระบวนการออกกฎหมายที่ไร้การตรวจสอบ ส่งผลให้กฎหมายจำนวนหนึ่งผ่านไปแล้วต้องมีการกลับมาแก้ไขใหม่ โดยอาศัยอำนาจ ม. 44 ในการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. หรือการส่งต่อให้ สนช. แก้ไขรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมามีอย่างน้อย 6 ครั้งที่ คสช. และ สนช. พยายามแก้ไขกฎหมายที่ตัวเองออก 
7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”
อ่าน

7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”

เพลง ประเทศกูมี ถูกเผยแพร่ในโลกออนไลน์และมีการพูดถึงอย่างมากจนผู้มีอำนาจเตรียมดำเนินคดี เนื้อหาเพลงว่าด้วยการนำข้อเท็จจริงของสังคมการเมืองไทยร่วมสมัยมาร้อยเรียงเป็นบทเพลง โดยขับร้องออกมาในสไตล์ Rap กล่าวได้ว่าเพลง ประเทศกูมีนั้นเปิดบาดแผลของสังคมไทยที่พยายามซุกซ่อนมานานกว่าสี่ปี ชวนอ่าน 7 เรื่องจริงของประเทศกูมี
การแก้ไขยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ชาติ คสช.
อ่าน

การแก้ไขยุทธศาสตร์ชาติ / ยุทธศาสตร์ชาติ คสช.

ยุทธศาสตร์ คสช. ที่จะบังคับใช้ยาวนานถึง 20 ปี ทำให้เกิดคำถามว่าการเขียนยุทธศาสตร์ล่วงหน้านานเป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริงหรือ เพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การบังคับและการมีบทลงโทษให้รัฐบาลต่างๆ ที่ไม่เดินตามยุทธศาสตร์ คสช. ทำให้ยุทธศาสตร์ คสช. เป็นเสมือนโซ่ตรวนรัดประเทศไม่ให้ก้าวไปข้างหน้า
ก่อนเลือกตั้ง 8 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ ส.ว.
อ่าน

ก่อนเลือกตั้ง 8 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ ส.ว.

วันที่ 13 ก.ย. 2561 ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่ง ส.ว. บังคับใช้ มีอย่างน้อยแปดประเด็นที่ควรรู้เกี่ยว ส.ว. เช่น ส.ว.มาจากการแต่งตั้ง ผบ.ทุกเหล่าทัพ เป็น ส.ว.โดยตำแหน่ง และ ส.ว. แต่งตั้งชุดนี้ยังมีบทบาทและอำนาจอีกมากในการเมืองไทยหลังเลือกตั้ง
อ่าน

สนช. แก้ที่มาคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) ผู้พิพากษาเลือกกันเองหมด เลิกระบบ ส.ว. ช่วยเลือก

การยื่นถอดถอน ชำนาญ รวิวรรณพงษ์ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” ทำให้สังคมได้รู้จักชื่อของ "คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม"  หรือ ก.ต. มากขึ้น ก.ต. เป็นหนึ่งในสามองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บริหารงานของศาลยุติธรรม และ สนช. กำลังพิจารณาแก้ไขที่มาของ ก.ต. ซึ่งจะทำให้ผู้พิพากษาเป็นผู้เลือกเองทั้งหมด
อ่าน

4 เรื่องต้องรู้ ก่อน สนช. เห็นชอบ กกต. ชุดใหม่ (ครั้งที่สอง)

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) นัดประชุมให้ความเห็นชอบผู้ที่จะเป็นคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดใหม่ หลัง กกต. ชุดเก่าถูกเซ็ตซีโร่ หรือถูกสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตาม พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2560 แต่ตลอดกระบวนการสรรหา คสช. พยายามเข้ามามีบทบาทกับองค์กรอิสระ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมอยู่หลายครั้ง