พริษฐ์ วัชรสินธุ: เราอาจจะมีทางเลือกที่ดีกว่าการควบคุมโรคด้วย พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

พริษฐ์ วัชรสินธุ: เราอาจจะมีทางเลือกที่ดีกว่าการควบคุมโรคด้วย พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

‘ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ’ ผู้ต้องหาในคดีฝ่าฝืน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จากการเข้าร่วมกิจกรรมตั้งวงคุยเรื่องรัฐธรรมนูญที่หน้าหอศิลปกรุงเทพมหานคร
สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564
อ่าน

สรุปความเคลื่อนไหวศึกแก้รัฐธรรมนูญไตรภาคตลอดปี 2564

จากการติดตามความเคลื่อนไหวของสภาโดยไอลอว์ ความพยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญตลอดปี 2564 ยิ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) วางไว้นั้น “ยากลำบาก” เพียงใด ในปีนี้ มีเพียงหนึ่งร่างที่สามารถผ่านด่านวุฒิสภาจนสามารถแก้ไขได้สำเร็จ ซึ่งก็คือการแก้ไขระบบเลือกตั้ง
ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”
อ่าน

ไอติม-ปิยบุตร นำเสนอสภาเดี่ยวรื้อ “ระบอบประยุทธ์”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา ที่จะนำร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยภาคประชาชน เข้าสู่การพิจารณา ร่างฉบับนี้มีชื่อเล่นว่าร่าง "รื้อระบอบประยุทธ์" มี ไอติม พริษฐ์, ปิยบุตร, ณัชปกร iLaw, ลูกเกด ชลธิชา และจักรินทร์ เป็นตัวแทนผู้เสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทำหน้าที่ชี้แจงร่างต่อสภา
5 เหตุผล ที่สภาควรลงมติ “ไม่ไว้วางใจ” พล.อ.ประยุทธ์
อ่าน

5 เหตุผล ที่สภาควรลงมติ “ไม่ไว้วางใจ” พล.อ.ประยุทธ์

4 กันยายน 2564 วันชี้ชะตาของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เนื่องจากสภาผู้แทนราษฎรจะมีการลงมติหลังรอภิปรายไม่ไว้วางใจติดต่อกันมากว่า 4 วัน จึงขอนำเสนอ 5 เหตุผลที่สภาควรลงมติ “ไม่ไว้วางใจ” พล.อ.ประยุทธ์
Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน
อ่าน

Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน

9 สิงหาคม 2564 มีการเผยแพร่เอกสารที่ถูกระบุว่าเป็นข้อมูล “ลับที่สุด” ในโลกออนไลน์ โดยเอกสารดังกล่าวคาดว่าเป็นของกองบังคับการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และประกอบไปด้วยข้อมูลของประชาชน ได้แก่ บรรดานักกิจกรรมหรือนักเคลื่อนไหวทางการเมือง นักการเมือง สื่อมวลชน นักวิชาการ และภาคประชาชน รวมแล้ว 183 รายชื่อ และข้อมูลบัญชีโซเชียลมีเดียอีก 19 บัญชี ซึ่งรายชื่อเหล่านี้ถูกระบุสถานะในเอกสารว่าเป็นกลุ่ม Watchlist หรือกลุ่มที่รัฐกำลังจับตา
สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ
อ่าน

สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ

ชวนทำความรู้จักรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขให้กลับไปคล้ายกับรัฐธรรมนูญ 2540 คือให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบที่แยก ส.ส.เขต และบัญชีรายชื่อออกจากกัน รวมทั้งปรับสัดส่วนให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน
จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”
อ่าน

จับตาแก้ระบบเลือกตั้ง ไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของ ส.ส. บัญชีรายชื่อส่อเกิด “เบี้ยหัวแตก”

แม้ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้งที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นผู้เสนอจะคล้ายคลึงกับระบบเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญ 2540 แต่ความแตกต่างคือไม่มีเกณฑ์คะแนนขั้นต่ำของพรรคที่จะได้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ การไม่กำหนดเกณฑ์ขึ้นต่ำนี้จะทำให้พรรคขนาดเล็กมีโอกาสเข้าสู่สภามากขึ้นแต่ก็จะเกิด “เบี้ยหัวแตก”
7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ 2560 เป็นรัฐธรรมนูญที่คนของคสช. เป็นคนร่าง เต็มไปด้วยกลไกสืบทอดอำนาจอย่างเข้มข้นอีกทั้ง หนทางในการจะออกจากวังวนอำนาจของคสช. ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ก็เต็มไปด้วยอุปสรรค
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ: ต้องใช้เสียงแค่ไหนจึงจะผ่านประชามติ

ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ กำหนดว่าการผ่านประชามติร่างรัฐธรรมนูญจะต้องได้เสียงข้างมากสองชั้น ขณะที่หากเป็นประชามติในประเด็นอื่นๆ กำหนดให้ใช้เสียงข้างมากของผู้มาออกเสียงประชามติ ซึ่งการกำหนดเช่นนี้มีความเหมือนและต่างจากกฎหมายประชามติในอดีต
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน