ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้
อ่าน

ร่าง รธน. ‘มีชัย’: เพิ่มมาตรการพิเศษ ถ้าผ่านแล้วแก้ไขแทบไม่ได้

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัยเขียนให้แก้ไขยากมาก จะแก้ไขได้ ส.ว. 1 ใน 3 ต้องลงมติเห็นชอบ และต้องมี ส.ส.ทุกพรรคลงมติเห็นชอบด้วย ในประเด็นหลักการใหญ่ รวมทั้งเรื่องคุณสมบัติไม่เคยทุจริตของนักการเมือง การแก้ไขต้องผ่านประชามติก่อน สุดท้ายยังอาจถูกร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญคว่ำได้อีกชั้นหนึ่ง
สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน
อ่าน

สมบัติ บุญงามอนงค์: คสช.จะอยู่ยาก ถ้าประชามติไม่ผ่าน

เราพูดคุยกับ  สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ 'บก.ลายจุด' เพื่อให้เขาช่วยมองการทำงานของเว็บไซต์ประชามติ (prachamati.org) และสะท้อนภาพรวมของสังคมไทยปัจจุบัน นอกจากนี้เรายังชวนคุยถึงการทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่กำลังจะเกิดขึ้นกลางปีนี้ ว่าจะเอายังไงดี? 
จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์: เว็บประชามติเป็น “เวทีแสดงความเห็นในสังคมที่ถูกปิดกั้น”

“จอน อึ๊งภากรณ์” ผู้ผลักดันเว็บไซต์ประชามติได้ย้อนทบทวนการทำงานของเว็บไซต์ประชามติที่ผ่านมาว่ามีส่วนสร้างการมีส่วนร่วมในสังคมได้แค่ไหน และมองไปข้างหน้าว่าในปี 2559 นี้ที่รัฐบาลบอกว่าจะมีการทำประชามติจริงนั้น ทิศทางของเว็บประชามติจะเป็นอย่างไร
‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน
อ่าน

‘มีชัย ฤชุพันธ์ุ’ ร่างรัฐธรรมนูญทดแทนบุญคุณแผ่นดิน

มีชัย ฤชุพันธ์ุ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ คนล่าสุด ผู้มีประสบการณ์โชกโชนในวงการเมืองและกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ 20 ปัหลังเมื่อเกิดรัฐประหารเขาจะเป็นคนแรกที่ทหารคิดถึง ชวนทำความรู้จักมีชัย และความคิดบ้างส่วนของเขา
ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?
สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558

ร่างรัฐธรรมนูญ 2558 หมวดที่ 2 ประชาชน กำหนดความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง สิทธิการมีส่วนร่วมทางการเมือง และการตรวจสอบการใช้อำนาจ พร้อมแบ่งแยก "สิทธิมนุษยชน" กับ "สิทธิพลเมือง" ออกจากกัน ทำให้คนที่ไม่มีสัญชาติไทยจะไม่ได้รับสิทธิบางประการ  
มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน
อ่าน

มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน

รัฐธรรมนูญของเยอรมันใช้มากว่า 60 ปี ในตอนแรกมีความตั้งใจว่าจะใช้เป็นฉบับชั่วคราว และถูกออกแบบมาโดยระมัดระวังไม่ให้เป็นฉบับถาวร คือประชาชนมีสิทธิยกเลิกได้อย่างเสรี แต่เนื่องจากฟังก์ชั่นต่างๆ ในรัฐธรรมนูญใช้ได้ดีจึงยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน  
รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’
อ่าน

รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เผยแนวคิดเกี่ยวการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ผ่าน บทความ "ระบอบการเมือง นักการเมือง และสถาบันการเมือง" จากนี้อนาคตของนักการเมืองและสถาบันการเมืองต่างๆ จะถูกดูแลให้อยูในร่องในรอยโดยกลุ่มคนดี ที่เรียกว่า "สมัชชาคุณธรรม"
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ: แม่น้ำสายที่ห้าสู่รัฐธรรมนูญใหม่

กมธ.ยกร่างรธน.คือองค์กรสุดท้ายของรธน.ชั่วคราว 2557 หน้าที่สำคัญคือการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เพื่อนำไปสู่การเลือกตั้ง โดยกรอบระยะเวลาการทำงานพวกเขามีระยะเวลาประมาณ 1 ปี หลังจากนี้ ด้วยเหตุนี้ที่มา คุณสมบัติ ของพวกเขาเป็นอย่างไร และขั้นตอนการร่างรัฐธรรมนูญจากนี้จะเป็นอย่างไร?