อ่าน

เลือกตั้งเร็วสุด ก.ย. 61 ก็ยังได้ ถ้า คสช. ปลดล็อกพรรคการเมือง

การเลือกตั้งจากเดิมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างช้าสุดในเดือนพฤศจิกายน 2561 อาจถูกเลื่อนออกไปอีก 90 วัน เป็นเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม 2562 อย่างไรก็ตามตามโรดแมป คสช. เอง ก็เลือกตั้งก็สามารถเกิดอย่างเร็วในเดือนกันยายน 2561 หรือปลายปี 2561 ช่วงไหนก็ได้ เพียงแค่คสช.ปลดล็อกพรรคการเมือง
สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน
อ่าน

สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน

ยังไม่มีความแน่นอนว่าเดือนพฤศจิกายน 2561 จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เคยลั่นวาจาไว้หรือไม่ เพราะมีแนวโน้มว่าโรดแมปตามรัฐธรรมนูญ 2560 จะถูกเลื่อนไปอีกถึง 90 วัน หรือสามเดือน หากที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เหตุที่โรดแมบจะถูกขยับออกไปอีก 90 วัน เพราะคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส.
คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่
อ่าน

คนจนจะไม่หมดไป ตราบใดที่ความยากจนทางอำนาจยังดำรงอยู่

ในงาน’รำลึก วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ : 10 ปีที่จากไป’ รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล บรรยายพิเศษในหัวข้อ “รัฐธรรมนูญใช่บุญทำ ความทุกข์ยากใช่กรรมแต่ง” และเรื่องที่สอง ‘รัฐธรรมนูญที่กินไม่ได้แต่ทำให้ท้องอิ่ม’ ชี้ รัฐธรรมนูญต้องเป็นความหวัง แต่ฉบับนี้คนไม่รู้สึกว่ามีหวัง
รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง

รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน เขียนคำว่า “มีส่วนร่วม” ไว้ถึง 22 ครั้ง รวมทั้งบังคับใช้รัฐต้องรับฟังประชาชนและให้มีส่วนร่วมด้วยในหลายประเด้น ในความเป็นจริงประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่ค่อยรู้ว่า ตัวเองมีสิทธิที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในเรื่องใดบ้าง
10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย
อ่าน

10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย

กลไกใหม่ๆ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 เช่น กฎหมายพรรคการเมือง การนับที่นั่งส.ส. กลไกลนายกฯคนนอก ฯลฯ หากถูกนำมาใช้ประกอบกันในเงื่อนไขและจังหวะเวลาที่ถูกต้อง อาจทำให้ คสช. สามารถควบคุมผลการเลือกตั้งครั้งหน้าได้ และทำให้การเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นไม่มีความหมาย
มองคดีจำนำข้าวให้ยาวถึงนโยบายหาเสียงครั้งหน้า
อ่าน

มองคดีจำนำข้าวให้ยาวถึงนโยบายหาเสียงครั้งหน้า

แม้คำพิพากษาคดีจำนำข้าวจะยังไม่สะท้อนภาพการแทรกแซงรัฐบาลโดยองค์กรตุลาการอย่างเด่นชัด แต่ก็น่าตั้งข้อสังเกตว่า คดีดังกล่าวจะกลายเป็นบรรทัดฐานสำหรับลงโทษรัฐบาลที่ดำเนินนโยบาย ‘ประชานิยม’ หรือไม่ โดยเฉพาะในยุคที่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้อำนาจองค์กรอิสระ
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์
อ่าน

สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์

นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม