ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112
อ่าน

ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112

อ่านความเห็นและท่าทีของข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติและผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพการแสดงออกต่อกรณีการยุบพรรคก้าวไกล
นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค
อ่าน

นครินทร์-ปัญญา ตุลาการจาก รธน. 50 อยู่ยาว สั่งยุบพรรคไปแล้วสามพรรค

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และปัญญา อุดชาชน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจากรัฐธรรมนูญ 2550 ที่ “อยู่ยาว” และตัดสินยุบสามพรรคการเมือง ไทยรักษาชาติ-อนาคตใหม่-ก้าวไกล
ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” สั่งยุบพรรคก้าวไกล แบนกรรมการ 11 คน 10 ปี

7 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรคก้าวไกล เหตุการเสนอแก้ไขมาตรา 112 การหาเสียง และการกระทำอื่นที่เกี่ยวข้องกับ มาตรา 112 เข้าข่ายล้มล้าง-อาจเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองฯ
ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป
อ่าน

ย้อนรอยกำเนิดศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการภิวัฒน์ และข้อเสนอต่อการปฏิรูป

นับตั้งแต่ช่วงวิกฤติการเมืองในปี 2549 จนถึงวิกฤติรัฐธรรมนูญในปี 2567 เป็นเวลาเกือบสองทศวรรษที่ประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับระบบ “ตุลาการภิวัฒน์” หรือ การที่สถาบันตุลาการขยายอำนาจเข้ามามีบทบาททางการเมืองผ่านการตัดสินคดีความ และการที่ฝ่ายการเมืองที่สนับสนุนอำนาจรัฐประหารก็จงใจหยิบยืมมือของสถาบันตุลาการมาใช้โดยการส่งคดีที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองให้ “ศาล” ใช้อำนาจชี้ขาด
เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบใหม่ กกต. เร่งกระบวน “ยุบพรรค” ให้ทุกคดีจบได้ภายใน 67 วัน
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบใหม่ กกต. เร่งกระบวน “ยุบพรรค” ให้ทุกคดีจบได้ภายใน 67 วัน

15 กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ออกระเบียบใหม่จำนวนสามฉบับ หนึ่งในนั้นคือ ระเบียบ กกต. ว่าด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานของนายทะเบียนพรรคการเมือง ซึ่งสาระสำคัญของระเบียบดังกล่าวคือ การเร่งรัดกระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง โดยกำหนดกรอบเวลาให้ไม่เกิน 67 วัน นับตั้งแต่วันที่รับเรื่องร้องเรียน
เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายดูอนาคต “พรรค 3 ป.” หลังถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับทุนสีเทา
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายดูอนาคต “พรรค 3 ป.” หลังถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับทุนสีเทา

ก่อนการเลือกตั้งในปี 2566 อุณหภูมิทางการเมืองเริ่มสูงขึ้น หลัง รังสิมันต์ โรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล ได้เปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ว่า พรรครวมไทยสร้างชาติที่ประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ตั้งที่ทำการพรรคอยู่บนที่ดินของบุคคลที่ใกล้ชิดกับขบวนการค้ายาเสพติดและฟอกเงินของกลุ่มทุนมินลัต ในขณะที่พรรคพลังประชารัฐที่นำโดย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มทุนจีนสีเทาอย่าง 'ตู้ห่าว' หรือ ชัยณัฐร์ กรณ์ชายานันท์ ที่ได้บริจาคเงินให้กับพรรค ซึ่งทั้งสองกรณีเข่าข่ายจะถูกยุบพรรคได้ทั้งคู่
เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล

ถ้าย้อนดูการเมืองไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีหลายยุคหลายสมัยที่พรรคการเมืองซึ่งมีจำนวน ส.ส. มากเป็นอันดับสอง สามารถจัดตั้งรัฐบาลแทนพรรคที่มีจำนวน ส.ส. มากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้ เนื่องจากมีกลไกในการสืบทอดอำนาจอยู่ 
ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่

หลังจากคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคอนาคตใหม่ออกมาแล้ว หลายคนคงสงสัยว่าตุลาการแต่ละคนให้ความเห็นว่าอย่างไร เราได้ชำแหละคำวินิจฉัยออกมาให้ทุกคนได้เข้าใจไปพร้อมๆ กัน