ก็คิดได้เนอะ! ส่องความเห็น กรธ. ชุดมีชัย คลอดระบบเลือกกันเอง สว.
อ่าน

ก็คิดได้เนอะ! ส่องความเห็น กรธ. ชุดมีชัย คลอดระบบเลือกกันเอง สว.

การจะทำความเข้าใจระบบเลือกกันเองของ สว. ต้องย้อนกลับไปที่เอกสารต่าง ๆ ที่ กรธ. อธิบายความคิดของตนเองเอาไว้ ซึ่งจะเห็นว่า กรธ. เริ่มต้นจากการเกลียดกลัวอำนาจที่มาจากการเลือกตั้ง ทำให้พยายามเฟ้นหาที่มาของ สว. รูปแบบอื่น
กรธ. ชุดมีชัย ออกแบบระบบ สว. “แบ่งกลุ่มอาชีพ”-“เลือกกันเอง” สุดซับซ้อน!
อ่าน

กรธ. ชุดมีชัย ออกแบบระบบ สว. “แบ่งกลุ่มอาชีพ”-“เลือกกันเอง” สุดซับซ้อน!

ระบบ “เลือกกันเอง” สว. 67 ที่ให้เฉพาะผู้สมัคร ซึ่งต้องจ่ายค่าธรรมเนียม 2,500 บาท มีสิทธิโหวต คิดค้นโดยคนเขียนรัฐธรรมนูญ 2560 นำโดยมีชัย ฤชุพันธุ์
เลือกตั้ง 66: ต้องปิดสวิตช์ ส.ว. คืนอำนาจให้ประชาชนเจ้าของประเทศ
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ต้องปิดสวิตช์ ส.ว. คืนอำนาจให้ประชาชนเจ้าของประเทศ

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล เรียกร้องว่า ในการเลือกตั้ง 2566 ส.ว. 250 คนต้องเคารพเจตจำนงเสียงข้างมากเพราะมันคือการกลับสู่ระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็นเจ้าของประเทศอีกครั้งหนึ่ง
เปิดเหตุผล ประยุทธ์ครบ 8 ปีจะรอดหรือไม่รอด
อ่าน

เปิดเหตุผล ประยุทธ์ครบ 8 ปีจะรอดหรือไม่รอด

30 ก.ย.2565 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกฯ ครบ 8 ปีตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้วหรือไม่ ที่ผ่านมามีการอธิบายว่าทำไมพลเอกประยุทธ์ถึงรอดหรือไม่รอดจากการเป็นนายกฯ และนี่คือเหตุผลว่าทำไมพลเอกประยุทธ์จะรอดหรือไม่รอดจากคำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ
เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …
อ่าน

เลือกตั้งช้าไป ใครสั่ง …

สนช. เห็นชอบ ร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. ตั้งแต่ 25 ม.ค.2561 ในทันที คสช.ก็สัญญาจะเลือกตั้ง ก.พ.2562 แต่อุปสรรคที่ทำให้ต้องเลื่อนการเลือกตั้งยังคงไม่จบ เพราะร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เจอข้อท้วงติงจากผู้มีอำนาจถึงเนื้อหาว่า อาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ ทำให้ร่างต้องถูกชะลอออกไปสองครั้ง และยังประกาศใช้ไม่ได้เสียที
เจาะเทคนิคเขียนรัฐธรรมนูญ “ซ่อนแอบ” แบบมีชัย อ่านไม่เข้าใจแต่แฝงกลไกกินรวบอำนาจ
อ่าน

เจาะเทคนิคเขียนรัฐธรรมนูญ “ซ่อนแอบ” แบบมีชัย อ่านไม่เข้าใจแต่แฝงกลไกกินรวบอำนาจ

หลายคนอาจจะอ่านรัฐธรรมนูญ 2560 แล้วต้องกุมขมับหลายตลบ ส่วนหนึ่งก็เพราะมันอ่านยากเองจริงๆ แต่อีกส่วนหนึ่งก็เพราะคนเขียนตั้งใจใช้ "เทคนิค" เขียนให้ยุ่งยาก สร้างขั้นตอนซับซ้อน ใช้คำใหญ่โต เหมือนจะเปิดกว้าง แต่จริงๆ สุดท้าย "ซ่อนแอบ" กลไกรวบอำนาจให้ตัวเอง
มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน
อ่าน

มีชัย แจงกฎหมายลูก “กสม.” ให้ช่วยแก้ต่างให้ประเทศ เพราะมุมมองแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน

กรธ.เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยมีชัย ฤุชพันธ์ุ ประธานกรธ. กล่าวถึงปัญหาสำคัญของกสม. ที่ร่างพ.ร.ป.ฉบับใหม่จะพัฒนาให้ดีขึ้น และกล่าวถึงประเด็นในร่างรัฐธรรมนูญ ที่ให้กสม.ออกมาชี้แชงกรณีมีรายงานที่ไม่จริงเกี่ยวกับประเทศไทยว่าไม่ใช่ทำหน้าที่โฆษกรัฐบาล
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 เขียนหมวดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเป็นครั้งแรก และเขียนสิทธิหลายประการใหม่ไว้ในหน้าที่ของรัฐแทน หลายฝ่ายกังวลว่าจะเป็นการตัดสิทธิของประชาชน ด้าน กรธ.มองว่า เขียนแบบนี้คุ้มครองได้มากกว่า
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ และคำถามพ่วง เพื่อเตรียมพร้อมก่อนลงประชามติ
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ และคำถามพ่วง เพื่อเตรียมพร้อมก่อนลงประชามติ

สรุปรวมเนื้อหาสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ในหลากหลายประเด็น รวมทั้งคำถามพ่วง เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจลงประชามติ ในวันที่ 7 ส.ค. นี้