รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”
อ่าน

รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”

การเปิดรับบริจาคและนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวอาจจะเข่าข่ายความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 และ 343 วรรคหนึ่ง แต่ไม่สามารถผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (1) ได้ เพราะเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นเรื่องการใช้เทคโนโลยีกระทำความผิด มิใช่การกระทำความผิดจากการโพสต์ข้อความในโลกออนไลน์ 
ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน
อ่าน

ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน

22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น 
รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
ความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ต้องเผยแพร่ “ข้อมูลเท็จ” การแชร์ของ “แหม่มโพธิ์ดำ” ถ้าไม่มีเจตนาทุจริต ก็ไม่ผิด
อ่าน

ความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ต้องเผยแพร่ “ข้อมูลเท็จ” การแชร์ของ “แหม่มโพธิ์ดำ” ถ้าไม่มีเจตนาทุจริต ก็ไม่ผิด

จากข่าวที่เจ้าหน้า…
จด•หมายเหตุ นคร เสรีรักษ์: การล่าแม่มดในสถานการณ์โควิด 19
อ่าน

จด•หมายเหตุ นคร เสรีรักษ์: การล่าแม่มดในสถานการณ์โควิด 19

จด•หมายเหตุ เป็นข้อเขียนของ "นคร เสรีรักษ์" นักวิชาการทางกฎหมายและผู้ก่อตั้งกลุ่ม Privacy Thailand ที่พยายามจดและบันทึกความเคลื่อนไหวทางสังคมในมุมสิทธิเสรีภาพและกฎหมาย โดยครั้งนี้เขาเลือกหยิบประเด็นเรื่องความเป็นส่วนตัวในสถานการณ์ที่สังคมต้องรับมือกับโรคระบาด แต่เพดานการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพดูจะลดต่ำลง
ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย
อ่าน

ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย

ระหว่างการรัฐประหาร 2557 การใช้มาตรา 112 และการไม่ให้ประกันตัวเป็นเรื่องที่เห็นบ่อยครั้ง ก่อนจะผ่อนคลายในช่วงปี 2561-2562 จากนั้นกลับมาสู่บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวอีกครั้งในปี 2563
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112

มาตรา 14(3) ถูกตำรวจนำมาตั้งข้อกล่าวหาคดีเพียงข้อหาเดียว โดยไม่ตั้งข้อหาตามหมวดความมั่นคงหรือหมวดก่อการร้ายในประมวลกฎหมายอาญาประกอบด้วย ทำให้มาตรา 14(3) มีสถานะขึ้นมาใช้แทนที่มาตรา 112 เดิมที่ช่วงหลังถูกใช้น้อยลง