จำคุกป่าน 2 ปี ม.116 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปมเพจทะลุฟ้าโพสต์ชวนชุมนุม ‘ไล่ล่าทรราช’ มุ่งหน้าไปบ้านพักประยุทธ์ราบ 1
อ่าน

จำคุกป่าน 2 ปี ม.116 และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปมเพจทะลุฟ้าโพสต์ชวนชุมนุม ‘ไล่ล่าทรราช’ มุ่งหน้าไปบ้านพักประยุทธ์ราบ 1

22 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09.40 น.
พลิกโฉมโลกออนไลน์ เมื่อประกาศดีอีใหม่สร้างสวรรค์ “นักร้อง(เรียน)” แจ้งลบเนื้อหา
อ่าน

พลิกโฉมโลกออนไลน์ เมื่อประกาศดีอีใหม่สร้างสวรรค์ “นักร้อง(เรียน)” แจ้งลบเนื้อหา

ประกาศดีอีฉบับใหม่จะทำให้การแสดงความคิดเห็นบนอินเทอร์เน็ตถูกปิดกั้นง่ายขึ้น เพราะตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม 2565 ใครก็ตามก็จะสามารถร้องเรียนไปยัง “ผู้ให้บริการ” และ “โซเชียลมีเดีย” เช่น เว็บบอร์ด เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ให้ลบเนื้อหาได้อย่างไม่ยาก และผู้ให้บริการถ้าอยากพ้นความรับผิดชอบต้องลบภายใน 24 ชั่วโมง
รวมคดีมาตรา 112 ระลอกใหม่ ที่ศาล “ยกฟ้อง”
อ่าน

รวมคดีมาตรา 112 ระลอกใหม่ ที่ศาล “ยกฟ้อง”

ในการบังคับใช้ระลอกปี 2563-2565 นี้ ท่ามกลางความวุ่นวายของคดีที่พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจนทะลุหลักร้อย ประกอบกับความสับสนงุนงงของประชาชนว่าขอบเขตการคุ้มครองของตัวบทกฎหมายมาตรา 112 นั้นกว้างขวางเพียงใด ในวันสุดท้ายของเดือนพฤศจิกายน 2563 “คำพิพากษาแรก” ก็ปรากฏออกมา โดยศาลจันทบุรีได้ “ยกฟ้อง” คดีมาตรา 112 ของจรัส นักศึกษาชาวจันทบุรีผู้ถูกกล่าวหาว่าโพสต์ข้อความวิพากษ์เศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9
เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
อ่าน

เปิดนิยาม-แยกองค์ประกอบ “ความผิดฐานนำเข้าข้อมูลเท็จ” ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

การออกมาวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลในช่วงวิกฤติจะถือเป็นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ประชาชนพึงมีตามรัฐธรรมนูญก็ตาม แต่รัฐบาลก็มีความพยายามในการตีความเอาผิดการแสดงออกดังกล่าวด้วยเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในกฎหมายที่ถูกนำมากล่าวอ้างเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นก็คือ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์
ขั้นตอน วิธีการสั่ง “บล็อคเว็บ” ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ และช่องทางการคัดค้าน
อ่าน

ขั้นตอน วิธีการสั่ง “บล็อคเว็บ” ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ และช่องทางการคัดค้าน

เมื่อรัฐต้องการจะ “บล็อคเว็บ” หรือระงับการเผยแพร่ข้อมูลบนสื่อออนไลน์ต่างๆ ต้องอาศัยอำนาจและขั้นตอนตามกฎหมายที่ให้สามารถทำได้ ซึ่งกฎหมายหลักที่ใช้ในสถานการณ์ทั่วไป คือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ
เปิดคำสั่งศาล ให้เว็บ Change.org “ฆ่าไม่ตาย” กลับมาใช้งานได้
อ่าน

เปิดคำสั่งศาล ให้เว็บ Change.org “ฆ่าไม่ตาย” กลับมาใช้งานได้

เปิดคำสั่งศาลอาญา หลังกระทรวงดีอีขอปิดเว็บรณรงค์ Change.org ทำให้เข้าถึงไม่ได้ทั้งเว็บตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2563 แต่ศาลก็ให้กลับมาเปิดได้แล้วในเดือนมีนาคม 2564 โดยศาลระบุว่า คำสั่งก่อนหน้านี้ไม่ถูกต้อง กระทรวงดีอีไม่ได้บอกว่าจะขอปิดทั้งเว็บ ศาลเข้าใจว่าปิดเฉพาะเนื้อหาบางส่วน
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง
เปิดข้อเสนอแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ให้ใช้ฟ้องปิดปาก
อ่าน

เปิดข้อเสนอแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ให้ใช้ฟ้องปิดปาก

ประเทศไทย มีกฎหมายหลายฉบับที่กำกับและควบคุมเสรีภาพในการแสดงออก ที่โดดเด่นที่สุด คือ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อป้องกันการกระทำความผิดต่อข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การโจมตีระบบ หรือ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่ก็ถูกนำมาใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์อย่างผิดฝาผิดตัวและเป็นผลให้เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้ จึงมีข้อเสนอจากภาคประชาชนที่ต้องการป้องกันไม่ให้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกนำมาใช้เพื่อ "ฟ้องปิดปาก"