Browsing Tag
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง
7 posts
ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน
22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น
ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
‘ห้องกัก ตม.’ สถานที่เสี่ยงติดโควิดสูงมาก กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ทางเลือกอื่นได้
ระหว่างที่ผู้คนใช้ชีวิตแบบ "เว้นระยะห่าง" ศูนย์กักกันของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ซึ่งเป็นที่รวมตัวขนาดย่อมของชาวต่างชาติที่รอการส่งตัวกลับประเทศ กลายเป็นสถานที่แออัดที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก เมื่อดูตามกฎหมายพบว่า เจ้าหน้าที่มีทางเลือกที่จะให้ปล่อยตัวไปอยู่ที่อื่น โดยมีประกันระหว่างรอการส่งกลับก็ได้
พ.ร.บ.คนเข้าเมือง-กฎหมายพรากครอบครัว ประสบการณ์ตรงจากสาวไทยเชื้อสายอินเดีย
เรื่องราวจากปากของ กรีรัน ยาโด ผู้ถูกกฎหมายคนเข้าเมืองท้าทายความรักของสมาชิกในครอบครัว โดยระบุว่าพ่อของเธอเป็นบุคคลอันตราย ห้ามเข้าประเทศไทย ประสบการณ์การต่อสู้ของเธอนำมาซึ่งข้อเสนอขอแก้ไขกฎหมายให้ชัดเจนกว่านี้และตรวจสอบดุลพินิจได้
จากโรฮิงญา สู่คำถามต่อกฎหมายผู้ลี้ภัยไทย
ประเทศไทยต้องรับมือกับเพื่อนบ้านที่หลบหนีเข้าเมืองหลายกลุ่ม ล่าสุดคือชาวโรฮิงญาที่หนีภัยความตายอันเกิดจากความแตกต่างทางเชื้อชาติหรือศาสนา การเสนอร่างพ.ร.บ.ผู้ลี้ภัยของภาคประชาชน หรือการลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี 1951 อาจแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่ง
เสนอแก้ กม.คนเข้าเมืองให้ทันสมัย-รับเปิดเสรีอาเซียน
หลายฝ่ายชี้สิทธิการอยู่ร่วมในครอบครัว สำคัญกว่ากฎหมายคนเข้าเมือง พร้อมเสนอแก้ไขพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 เพื่อให้ครอบครัวได้อยู่ร่วมกัน