Leader of the Official Opposition.
อ่าน

“ผู้นำฝ่ายค้าน” บทบาทสำคัญ ตั้งไม่ได้ก็รอต่อไป

“ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร” เป็นอีกหนึ่งตำแหน่งที่สำคัญในการปกครองระบบรัฐสภาที่จำเป็นต้องมีผู้นำในสภาเพื่อตรวจสอบรัฐบาล อย่างไรก็ตามความผิดเพี้ยนของรัฐธรรมนูญ 2560 ได้นำมาสู่ปัญหาใหม่ที่อาจทำให้รัฐสภาจากการเลือกตั้ง 2566 ขาดผู้นำฝ่ายค้านหรืออาจได้ผู้นำฝ่ายค้านที่อ่อนแอเพราะมีเสียงในสภาน้อยเกินไป
election result
อ่าน

อดีตฝ่ายค้านแลนด์สไลด์ พรรคทหารทรุด เสียงส่วนใหญ่ไม่เอาอดีตพรรคร่วม

ผลการเลือกตั้งทั่วไป 2566 อย่างไม่เป็นทางการปรากฏว่าอดีตพรรคฝ่ายค้านเอาชนะอดีตพรรคฝ่ายรัฐบาลไปอย่างถล่มทลาย ซึ่งเป็นความเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากผลคะแนนเมื่อสี่ปีก่อน
constitution b.e. 2560 article 152
อ่าน

จับตาฝ่ายค้านอภิปรายทั่วไป ซักฟอกรัฐบาลแบบไม่ลงมติ

รัฐธรรมนูญ มาตรา 152 กำหนดให้ ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร สามารถเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรัฐมนตรี โดยไม่มีการลงมติได้ เป็นหนึ่งในกลไกตรวจสอบรัฐบาล โดยไม่มีการลงมติชี้ขาดสถานะนายกฯ หรือรัฐมนตรี
SSR Phue Thai Proposal
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’

31 สิงหาคม 2563 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดเผยร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ร่วมกับคณะเป็นผู้เสนอ โดยมีทั้งสิ้น 5 มาตรา หนึ่งในสาระสำคัญ คือ วิธีการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้ง
ฝ่ายค้านเตรียมอภิปราย พ.ร.ก.กู้เงิน 3 ฉบับ ตั้งเป้า ถ้าตรวจสอบไม่ได้-ไม่ให้กฎหมา
อ่าน

ฝ่ายค้านเตรียมอภิปราย พ.ร.ก.กู้เงิน 3 ฉบับ ตั้งเป้า ถ้าตรวจสอบไม่ได้-ไม่ให้กฎหมายผ่าน

 27 พ.ค. 63 ที่ประชุม ส.ส.เตรียมประชุมสมัยสามัญ มีภารกิจคือ พิจารณา พ.ร.ก.กู้เงินหนึ่งล้านล้านบาทเพื่อรับมือสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 โดยทางวิปฝ่ายค้านแถลงร่วมกันว่า ให้มีการตั้ง กมธ.วิสามัญตรวจสอบการใช้เงินและให้รัฐบาลรายงานบัญชีต่อสภาต่อเดือน มิฉะนั้น ฝ่ายค้านจะลงมติ‘ไม่ให้ผ่าน’ 
49207682106_422110e3c3_o
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการอภิปรายวันแรก ญัตติ “ตั้งกมธ. แก้รัฐธรรมนูญ”

11 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาญัตติด่วน เรื่องการตั้ง “คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” หรือเรียกสั้นๆ ว่า “กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ” เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการก่อนที่จะเดินไปสู่ขั้นตอนการแก้รัฐธรรมนูญต่อไป