รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ
อ่าน

รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ

กติกาการเลือกตั้งส.ส. ครั้งนี้ไม่เหมือนการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งที่แตกต่างคือ การมีระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ระบบ Primary Vote กล่าวคือ ก่อนการเลือกตั้งจริงทุกพรรคการเมืองจะต้องจัดการเลือกขั้นต้น เพื่อให้สมาชิกพรรคลงคะแนนเลือกว่า ใครจะเป็นตัวแทนของพรรคที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งประจำเขตต่างๆ ก่อน
พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ “ตั้งพรรคยาก ยุบพรรคง่าย ห้ามประชานิยม”
อ่าน

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ “ตั้งพรรคยาก ยุบพรรคง่าย ห้ามประชานิยม”

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ คือหนึ่งในสี่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่จะนำประเทศไปสู่การเลือกตั้ง สาระสำคัญคือ การกำหนดสิ่งที่พรรคการเมืองต้องทำก่อนไปสู่การเลือกตั้ง โดยกฎหมายจะกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดตั้งพรรคการเมือง การหาสมาชิกพรรค การหาเสียงเลือกตั้ง และบทบาทของกกต. กับศาลรัฐธรรมนูญ 
ส่องแนวคิดปฏิรูปการเมืองของสปท.ก็ “Same same but different”
อ่าน

ส่องแนวคิดปฏิรูปการเมืองของสปท.ก็ “Same same but different”

เเนวคิดปฏิรูปด้านการเมืองของ สปท. เช่น ด้านผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ด้านการเลือกตั้ง ด้านวัฒนธรรมทางการเมืองและด้านพรรคการเมืองจะใช้พิมพ์เขียวเดียวปฏิรูปทุกพรรค อาจกล่าวว่า “same same but different” คือ ข้อเสนอต่างๆ จะออกเดิมๆ วิธีคิดก็เดิมๆ ทางแก้ก็เดิมๆ คนร่างก็หน้าเดิมๆ 
ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ฉบับ กรธ. พรรคการเมืองตั้งยาก เสี่ยงโดนลงโทษง่าย
อ่าน

ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ฉบับ กรธ. พรรคการเมืองตั้งยาก เสี่ยงโดนลงโทษง่าย

ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ฉบับกมธ. เตรียมเข้าสู่การพิจารณาของ สนช. เจตนารมณ์ของผู้ร่างย้ำชัดว่าต้องการให้ประชาชนเป็นเจ้าของพรรคการเมืองอย่างแท้จริง และให้สมาชิกพรรคมีส่วนร่วมในการบริหารพรรคโดยที่ไม่ถูกครอบงำจากนายทุน ขณะที่เนื้อหาส่วนใหญ่ทำให้พรรคขนาดเล็กเกิดยาก และพรรคใหญ่เสี่ยงถูกลงโทษง่ายขึ้น
ย้อนดูกฎหมายพรรคการเมืองไทย ตั้งพรรค ยุบพรรค กันอย่างไร?
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายพรรคการเมืองไทย ตั้งพรรค ยุบพรรค กันอย่างไร?

กกต.ร่าง พ.ร.ป.พรรคการเมืองให้ กรธ.เตรียมแก้ไขในขั้นต่อไป โดยแนวคิดหลักในการร่างคือจะทำให้การจัดตั้งพรรคการเมืองทำได้ยากขึ้นและจะยุบพรรคอย่างไร ชวนย้อนไปดูเนื้อหา พ.ร.บ.พรรคการเมืองในอดีตว่าเป็นอย่างไร
จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’
อ่าน

จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’

ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร
ร่างรัฐธรรมนูญ’ 58 : อำนาจสูงสุดอยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญ’ 58 : อำนาจสูงสุดอยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ต่อเนื่องเรื่อยมาในรัฐธรรมนูญ 2550 บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญโดดเด่นขึ้นมาจากการตัดสินคดีสำคัญๆ ที่มีผลเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่งผลต่อความเป็นไปของประเทศไทย ซึงร่างรัฐธรรมนูญ 2558 ศาลรัฐธรรมนูญก็ยังคงอำนาจนำต่อไป 
มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน
อ่าน

มองร่างรัฐธรรมนูญไทยผ่านเยอรมัน

รัฐธรรมนูญของเยอรมันใช้มากว่า 60 ปี ในตอนแรกมีความตั้งใจว่าจะใช้เป็นฉบับชั่วคราว และถูกออกแบบมาโดยระมัดระวังไม่ให้เป็นฉบับถาวร คือประชาชนมีสิทธิยกเลิกได้อย่างเสรี แต่เนื่องจากฟังก์ชั่นต่างๆ ในรัฐธรรมนูญใช้ได้ดีจึงยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน