3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล
อ่าน

3ปี ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน: อยุติธรรม ความรุนแรง และการลอยนวล

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานครบรอบสามปี สรุปงานคดีที่ฟ้องกลับและใช้กลไกอื่นๆในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมรวม 58 คดี ในคดีที่ฟ้องร้องเพิกถอนประกาศหรือคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ แทบทั้งหมดศาลยกฟ้องให้น้ำหนักการรับฟังพยานฝ่ายรัฐมาก
รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว
อ่าน

รอการลงโทษจำคุกเบนจา 2 ปี คดี 112 กรณีอ่านแถลงการณ์แนวร่วมมธ. ฉ.2 ศาลชี้เห็นควรให้โอกาสจำเลยกลับตัว

30 ตุลาคม 2566 ศาลอาญากรุงเทพใต้นัดเบนจา อะปัญ อดีตนักกิจกรรมแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฟังคำพิพากษาคดีมาตรา 112  ที่เธอถูกกล่าวหาว่าปราศรัยและอ่านแถลงการณ์แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมฉบับที่สอง เรื่อง นายทุน-ขุนศึก-ศักดินา และการเมืองหลังระบบประยุทธ์ ระหว่างคาร์ม็อบวันที่ 10 สิงหาคม 2564 โดยที่เนื้อหาบางตอนของแถลงการณ์พาดพิงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพระมหากษัตริย์ โดยศาลพิพากษาว่าเบนจามีความผิด ให้ลงโทษจำคุกในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นเวลา 3 ปี และในความผิดฐานร่วมการชุมนุมฝ่าฝืนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จำคุก 1 ปี กับปรับ 12,000 บาท  เนื่องจากเบนจาให้การเป็นปร
Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา
อ่าน

9 ปี รีแคป เหตุเกิดในเดือนพฤษภา

ชวนย้อนดูเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิดในเดือนพฤษภาคมตลอดเก้าปีที่ผ่านมาว่ามีอะไรบ้าง 
เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม
อ่าน

เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม

ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินพล.อ.ประยุทธ์ออกข้อกำหนดรวม 47 ฉบับ ฉากหน้าของข้อกำหนดเหล่านี้ระบุว่า เป็นไปเพื่อใช้ในการปราบปรามโรคระบาดอย่างโควิด-19 หากหลายฉบับมีวาระซ่อนเร้นเพื่อใช้ในทางปราบปรามเสรีภาพในการชุมนุม นำไปสู่การฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพื่อเพิกถอนข้อกำหนดปิดปาก
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จบ แต่คดีไม่จบ ตำรวจ อัยการ ศาลต้องหาทางออกคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จบ แต่คดีไม่จบ ตำรวจ อัยการ ศาลต้องหาทางออกคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.

แม้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ข้อกำหนด ประกาศ และคำสั่งที่ออกมาภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกแล้วตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 แต่การประกาศยกเลิกไม่ได้ระบุให้บรรดาคดีความในข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สิ้นสุดลงด้วย ในทางกฎหมาย คดีเหล่านี้ยังเดินหน้าต่อได้ตามกระบวนการจนกว่าคดีจะถึงที่สุด    
อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย
อ่าน

อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย

คดีจากการฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังมีอนาคตที่สับสน แม้ว่าการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโรคโควิดจะสิ้นสุดลง แต่คดียังอาจเดินหน้าต่อไปได้ ไม่ใช่กรณีกฎหมายถูกยกเลิก ซึ่งคณะรัฐมนตรีควรต้องใช้อำนาจออกประกาศให้ชัดเจนเพื่อหาทางลดภาระในกระบวนการยุติธรรม
สรุปคำฟ้องคดีขอเพิกถอนข้อกำหนด “ลักไก่” ใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพิ่มโทษผู้ชุมนุม
อ่าน

สรุปคำฟ้องคดีขอเพิกถอนข้อกำหนด “ลักไก่” ใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพิ่มโทษผู้ชุมนุม

22 สิงหาคม 2565 เวลา 10.00 น. ที่ศาลแพ่ง ถนนรัชดาภิเษก นิสิตและนักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยขอให้ศาลแพ่งมีคำสั่งเพิกถอนประกาศหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคง ฉบับที่ 15 และขอให้ศาลเปิดไต่สวนเพื่อคุ้มครองชั่วคราว 
ประกาศห้ามชุมนุมฉบับใหม่ ลักไก่เพิ่มโทษผู้ชุมนุม เปิดทางใช้กำลังทหาร
อ่าน

ประกาศห้ามชุมนุมฉบับใหม่ ลักไก่เพิ่มโทษผู้ชุมนุม เปิดทางใช้กำลังทหาร

หลังการบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ นานเกินสองปี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ก็ออกข้อกำหมายตามอำนาจของพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 47 มาบังคับใช้  โดยอ้างเหตุผลว่าการระบาดของโรคโควิด19 ในหลายประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
สภาคว่ำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ หน่วยงานรัฐยัน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังเหมาะสมใช้แก้สถานการณ์ “ไม่ปกติ”
อ่าน

สภาคว่ำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ หน่วยงานรัฐยัน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังเหมาะสมใช้แก้สถานการณ์ “ไม่ปกติ”

สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “ไม่รับหลักการ” ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่ส.ส.ก้าวไกลเสนอขึ้นเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ให้สภาตรวจสอบอำนาจพิเศษนี้ และยกเลิกอำนาจการคุมสื่อของรัฐบาล