“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3
อ่าน

“คุกซ้อนคุก” ชีวิตผู้ต้องขังในโควิดระลอกที่ 3

คุณ “บี” อดีตผู้ต้องขังหญิงแดนใน ทัณฑสถานหญิงกลางชวนไอลอว์เล่าถึงสถานการณ์ #โควิดเรือนจำ ที่เธอประสบระหว่างถูกคุมขังโดยหวังว่าคำบอกเล่าของเธอจะทำให้สถานการณ์ในเรือนจำได้รับความสนใจจากสาธารณชนซึ่งจะกระตุ้นให้ภาครัฐหาทางแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ให้ดีขึ้น 
ฉีดวัคซีน-ลดแออัด-หยุดเข้าไปเพิ่ม ข้อเรียกร้องเร่งด่วน ป้องกันโควิดในเรือนจำ
อ่าน

ฉีดวัคซีน-ลดแออัด-หยุดเข้าไปเพิ่ม ข้อเรียกร้องเร่งด่วน ป้องกันโควิดในเรือนจำ

สถานการณ์โควิดในเรือนจำไม่ใช่ความผิดของเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ แต่เป็นความยากลำบากภายใต้ความกดดันจากการแพร่ระบาดของโรค พร้อมกับภารกิจที่ต้องควบคุมตัวผู้ต้องขังให้มั่นคง ผู้บริหาร “ระดับนโยบาย” จะต้องเห็นคุณค่าของชีวิตคนที่อยู่ในเรือนจำ เราขอเสนอมาตรการเร่งด่วนให้ปฏิบัติในทันที 
อังกฤษและเวลส์ปล่อยนักโทษกว่า 4,000 คน หนีโควิด
อ่าน

อังกฤษและเวลส์ปล่อยนักโทษกว่า 4,000 คน หนีโควิด

รัฐบาลประเทศอังกฤษได้ออกประกาศว่า นักโทษจำนวนกว่า 4,000 คนจะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวเพื่อการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า โดยสวมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวไว้ และจะถูกภาคทัณฑ์ไว้ตลอดระยะเวลาที่ถูกปล่อยโดยจะถูกตามตัวให้กลับมาทันทีเมื่อมีเหตุที่น่าสงสัยว่าจะหลบหนี
ปล่อยนักโทษลดความแออัด อีกหนึ่งมาตรการรับมือโควิด 19 ในต่างประเทศ
อ่าน

ปล่อยนักโทษลดความแออัด อีกหนึ่งมาตรการรับมือโควิด 19 ในต่างประเทศ

ระหว่างที่ไวรัสโคโรนากำลังระบาดในหลายๆ ประเทศ การลดความหนาแน่นในเรือนจำด้วยการปล่อยผู้ต้องขังบางส่วนเป็นแนวทางที่หลายๆ ประเทศเลือกใช้
ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
“เคราะห์ซ้ำ-กรรมซัด” ชะตากรรมของผู้ต้องขังในยุครัฐบาลทหาร
อ่าน

“เคราะห์ซ้ำ-กรรมซัด” ชะตากรรมของผู้ต้องขังในยุครัฐบาลทหาร

ตลอดสองปีหลังการรัฐประหาร เรือนจำมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่สิ่งที่ไม่เคยเปลี่ยนคือ ความยากลำบากของผู้ต้องขังหรือนักโทษในเรือนจำ ไม่ว่าจะเป็นการบังคับใช้กฎสิบชื่อจำกัดผู้มีสิทธิเยี่ยมอย่างเคร่งครัด การให้เจ้าหน้าที่รัฐมาสอดส่องการติดต่อระหว่างคนข้างในกับบุคคลภายนอกรวมทั้งทนายความ นอกจากนี้ เรือนจำยังต้องเผชิญกับปัญหาสวัสดิภาพและความปลอดภัยในเรือนจำอีกด้วย
อีกมุมของการ ‘โกนผม’ การทำผิด การประจาน ความอับอาย
อ่าน

อีกมุมของการ ‘โกนผม’ การทำผิด การประจาน ความอับอาย

การโกนผมมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของพื้นที่และเวลา ในกระบวนการยุติธรรมการโกนหัวนั่นแสดงถึงอำนาจของรัฐในการควบคุมประชาชน โดยผู้ที่โกนจะถูกตราว่าเป็นผู้กระทำผิด และเป็นการประจานทำให้อับอายและเสียชื่อเสียง ทั้งๆ ที่ในบางกรณีตัวผู้ต้องหาเองยังไม่ได้ถูกจำคุกหรือถูกศาลตัดสินว่ามีความผิด
สธ.ไม่ฟันธง ผู้ต้องขังในเรือนจำมีสิทธิหลักประกันสุขภาพหรือไม่
อ่าน

สธ.ไม่ฟันธง ผู้ต้องขังในเรือนจำมีสิทธิหลักประกันสุขภาพหรือไม่

การประชุม “สุขภาพผู้ต้องขังหญิง: ให้เท่าที่จำเป็นหรือสิทธิที่พึงได้รับ?” นักวิชาการเผย เรือนจำแออัด เสี่ยงต่อการติดโรค อำนาจผู้คุมทำให้เข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ด้านหน่วยงานรัฐประสานเสียงตรงกัน ผู้ต้องขังยังไม่แน่ว่าจะได้รับสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือไม่ ขึ้ันอยู่กับการตีความ
คู่มือการเยี่ยมผู้ถูกควบคุมตัวที่กองปราบ
อ่าน

คู่มือการเยี่ยมผู้ถูกควบคุมตัวที่กองปราบ

หลังการรัฐประหาร กองปราบคึกคักเป็นพิเศษ เพราะมีผู้ถูกควบคุมตัวจากการฝ่าฝืนประกาศเรื่องห้ามการชุมนุมของคสช. บางคนอาจอยู่นานถึงเจ็ดวันตามกฎอัยการศึก ซึ่งในช่วงเวลานี้ กำลังใจจากผู้มาเยือนเป็นสิ่งสำคัญ