สามปีแล้วสินะ:  ประชาชนต่อสู้เพื่อสิทธิได้แค่ไหน อะไรบ้าง ?
อ่าน

สามปีแล้วสินะ: ประชาชนต่อสู้เพื่อสิทธิได้แค่ไหน อะไรบ้าง ?

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ระยะสามปีการคงอำนาจรัฐบาล คสช. มีเรื่องราวเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนเกิดขึ้นมากมาย ยิ่งในยุคที่มีการปิดกั้นจากรัฐภาคประชาชนยิ่งต้องหาวิธีการแสดงความคิดเห็น บ้างเป็นกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ บ้างเป็นการชุมนุมของผู้ถูกละเมิด และมีบ้างที่พยายามใช้ช่องทางกฎหมายที่มีอยู่น้อยนิดในการต่อสู้กับผู้มีอำนาจ ซึ่งทั้งหมดเป็นบทเรียนสำคัญที่ภาคประชาชนไทยได้เรียนรู้    
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”

การทำงานขององค์กรอิสระหลายครั้งก่อให้เกิดการตั้งคำถามจากประชาชน จนมีการเรียกร้องให้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญยึดโยงกับประชาชนให้มากขึ้น แต่ทว่าที่มาของ "คณะกรรมการสรรหา" ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ กลับมีสัดส่วนตัวแทนที่ยึดโยงกับประชาชนเป็นเสียงส่วนน้อยอยู่เสมอ ถึงแม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีการเพิ่มอำนาจขององค์กรอิสระให้มากกว่าเดิมก็ตาม
รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยแล้วว่า "มาตรา 61 วรรค 2" ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ "ไม่ขัดหรือแย้ง" ต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 มาตรา 4 ทั้งนี้ เอกสารชี้แจงเป็นเพียงการบอกมติของศาลรัฐธรรมนูญว่าขัดหรือไม่ แต่ไม่ได้ชี้แจงถึงเหตุผลโดยละเอียด ต้องรอดูเอกสารฉบับเต็ม
ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ

ไอลอว์ชี้แจง กรณีที่ผู้ตรวจการแถลงส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ หากศาลวินิจฉัยว่าขัดกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ผลที่จะตามมาก็คือ เฉพาะมาตรา 61 วรรคสอง จะใช้บังคับไม่ได้ เสมือนว่าเนื้อหาตามวรรคสองนี้ไม่เคยมีอยู่ และไม่เป็นเหตุให้เลื่อนประชามติ
ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ความเคลื่อนไหวก่อนผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ขัดรัฐธรรมนูญ

iLaw นำรายชื่อภาคประชาชน เอ็นจีโอ และนักวิชาการ จำนวน 107 รายชื่อ ยื่นต่อผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้วินิจฉัยว่ามาตรา 61 ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ล่าสุดที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดินมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ เตรียมยื่นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รวมหนังสือถึงผู้ตรวจการแผ่นดิน เรื่อง ขอให้ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ 2559 ขัดต่อรัฐธรรมนูญ

รายละเอียดหนังสือร้องเรียนผู้ตรวจการแผ่นดิน ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559  มาตรา 61 วรรคสองและวรรคสี่ ละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญ+ผู้ตรวจการแผ่นดิน vs การเลือกตั้ง’57

ขบวนการ “ตุลาการภิวัฒน์” ขององค์กรอิสระยังเดินเกมส์อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดการที่ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ นำมาซึ่งข้อสงสัย ว่าการตัดสินครั้งนี้ตั้งอยู่บนฐานความถูกต้องทางกฎหมายหรือความเชื่อทางการเมือง iLaw ขอทำหน้าที่พลเมืองดีของระบอบประชาธิปไตย เป็นส่วนหนึ่งที่จะตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจต่างๆ อย่างศาลรัฐธรรมนูญและผู้ตรวจการแผ่นดิน