สภา “ไม่เห็นชอบ” ข้อสังเกตรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม แม้ไม่ได้สรุปชัดว่าต้องรวม ม.112
อ่าน

สภา “ไม่เห็นชอบ” ข้อสังเกตรายงาน กมธ.นิรโทษกรรม แม้ไม่ได้สรุปชัดว่าต้องรวม ม.112

24 ตุลาคม 2567 เสียงข้างมากของ สส. โหวต “ไม่เห็นด้วย” กับข้อสังเกตในรายงาน กมธ. นิรโทษกรรม แม้ในรายงานดังกล่าวจะไม่ได้สรุปชัดว่าการตรากฎหมายนิรโทษกรรมควรจะต้องรวมหรือไม่รวมความผิดมาตรา 112
เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

เปิดผลลงมติ สว. เรียงคน ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ยืดเวลาเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

กระบวนการแก้ไขพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อรับกับการประชามติเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ส่อแววล่าช้าเมื่อ สว. ลงมติพลิกกลับมติ สส. ขอแก้ไขเนื้อหาร่าง ส่งผลให้กระบวนการพิจารณายืดออกไปอีก
สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ
อ่าน

สส. ค้าน สว. ปมแก้ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ตั้งกมธ.ร่วมพิจารณาต่อ

9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่วุฒิสภาแก้ไข ให้คงเกณฑ์เสียงข้างมากสองชั้นสำหรับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 0 เสียง ไม่เห็นชอบ 348 เสียง งดออกเสียง 65 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 เสียง กระบวนการหลังจากนี้คือสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ต้องตั้งกรรมาธิการ (กมธ.) ร่วมกัน เพื่อพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ และส่งกลับให้ทั้งสองสภาลงมติอีกครั้งว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ 
ไร้เสียงค้าน! สภารับหลักการร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชนและหมดความจำเป็น
อ่าน

ไร้เสียงค้าน! สภารับหลักการร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชนและหมดความจำเป็น

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีมติ “รับหลักการ” ร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. ที่ขัดสิทธิมนุษยชน-หมดความจำเป็น 5 ฉบับ
ครม. – สส. เห็นพ้อง เสนอยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนหรือหมดความจำเป็น
อ่าน

ครม. – สส. เห็นพ้อง เสนอยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนหรือหมดความจำเป็น

ครม. สส. พรรคภูมิใจไทย และ สส. พรรคก้าวไกล เสนอร่ากฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. หลายฉบับ ที่หมดความจำเป็นไปแล้ว ขัดสิทธิมนุษยชน
จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และแก้พ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อวาระสอง-สาม

21 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎรมีวาระพิจารณาร่างกฎหมายยกเลิกประกาศ-คำสั่ง คสช. และพิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ต่อในวาระสอง-สาม
ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง
อ่าน

ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง

แม้การเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2562 และ 2566 จะมีสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ชุดพิเศษมาร่วมโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย แต่หลังจากพ้นระยะเวลาห้าปีที่มีรัฐสภาชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 แล้ว กลไกการเลือกนายกรัฐมนตรีจะกลับมาใช้ขั้นตอนปกติตามรัฐธรรมนูญ 2560 คือ เลือกนายกรัฐมนตรีโดยสภาผู้แทนราษฎร (สส.) เท่านั้น 
ฝ่ายค้านเปิดเกมอภิปรายทั่วไปรัฐบาลเศรษฐาโดยไม่ลงมติ
อ่าน

ฝ่ายค้านเปิดเกมอภิปรายทั่วไปรัฐบาลเศรษฐาโดยไม่ลงมติ

3 เมษายน 2567 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีวาระสำคัญ ช่วงโค้งสุดท้ายก่อนปิดสมัยประชุมรัฐสภาในวันที่ 10 เมษายน 2567 โดยมีวาระอภิปรายทั่วไปเพื่อซักถามข้อเท็จจริงหรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรัฐมนตรีนำโดยเศรษฐา ทวีสิน โดยไม่มีการลงมติ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 152 ซึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) พรรคฝ่ายค้าน อันได้แก่พรรคก้าวไกล พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคไทยสร้างไทย เสนอญัตตินี้เข้าสภาร
“จับตา” วันโหวตนายกฯ แบบเกาะขอบห้องประชุมสภาจริง! เปิดรับสมัครตัวแทนประชาชนไม่เกิน 25 คน
อ่าน

“จับตา” วันโหวตนายกฯ แบบเกาะขอบห้องประชุมสภาจริง! เปิดรับสมัครตัวแทนประชาชนไม่เกิน 25 คน

ไอลอว์จัดทริปทัศนศึกษาเล็กๆ สำหรับประชาชนที่สนใจ จำนวนไม่เกิน 25 คน ไปนั่งเป็นสักขีพยานดูกระบวนการทั้งหมดด้วยตาตัวเอง เพื่อจดจำบรรยากาศ เรื่องราว อารมณ์ความรู้สึก ออกมาถ่ายทอดให้เพื่อนๆ ที่ไม่มีโอกาสเข้าไปได้รับรู้ร่วมกัน เผื่อว่าวันที่ 13 กรกฎาคม 2566 จะเป็นวันเริ่มต้นของประวัติศาสตร์หน้าใหม่