เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566
อ่าน

เทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม พ.ศ. 2556-2566

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรมในรอบสิบปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2556-2566 ที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากคณะรัฐประหารมีอย่างน้อยสี่ร่าง ซึ่งมีความแตกต่างกันในรายละเอียดสำคัญ
หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม
อ่าน

หมอเหวงถามรัฐบาลหากไม่เห็นประชาชนเป็นศัตรูต้องนิรโทษกรรม

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 นพ.เหวง โตจิราการ หรือหมอเหวง แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปคือ คดีการเมืองที่เกิดขึ้นมาเป็นเรื่องของที่รัฐมองประชาชนเป็นฝ่ายตรงกันข้ามหรือเป็นศัตรู การใช้กฎหมายหรือคดีความเพื่อปราบปรามผู้ที่รัฐนั้นมองว่าเป็นศัตรูเช่นกรณีการชุมนุมของนปช.เมื่อปี 2553 และกล่าวโดยตรงถึงพรรครัฐบาลโดยเฉพาะอย่า
อดีตพันธมิตรฯ มองต้องนิรโทษฯ คลี่คลาย ม.112 และเขียนรธน.ใหม่เพื่อออกจากวังวนความขัดแย้ง
อ่าน

อดีตพันธมิตรฯ มองต้องนิรโทษฯ คลี่คลาย ม.112 และเขียนรธน.ใหม่เพื่อออกจากวังวนความขัดแย้ง

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 อมร อมรรัตนานนท์ อดีตแนวร่วมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กล่าวในเวทีเสวนา “ก้าวแรกอย่างไรในการแก้ไขปัญหาคดีการเมือง” โดยสรุปว่า เวลานี้เป็นเวลาที่เหมาะสมในการพูดคุยเพื่อหาแนวทางให้ประเทศก้าวเดินไปข้างหน้าได้ การนิรโทษกรรมมีความจำเป็นในการที่จะก้าวพ้นความขัดแย้งและทำให้สังคมไทยอยู่ร่วมกันได้ ที่ผ่านมามีข้
เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112
อ่าน

เปิดร่างนิรโทษกรรมฉบับประชาชน รวมประชาชนทุกฝ่าย และคดี 112

เครือข่ายนิโทษกรรมประชาชนจึงเสนอร่างกฎหมายพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาคดีความที่คั่งค้างกับประชาชนทุกฝ่ายตั้งแต่การรัฐประหาร 2549 และเปิดให้ทุกคนช่วยกันแสดงความเห็นเพื่อปรับปรุงร่างได้
สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรม
อ่าน

สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรม

ก่อนการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา การดำเนินคดีการเมืองด้วยการใช้มาตรา 112 มาตรา 116 ไปจนถึงการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถูกดำเนินการจนส่งผลให้จำนวนผู้ต้องขังในคดีการเมืองยังคงพุ่งสูง ขณะที่สถานการณ์ปัจจุบันภายใต้รัฐบาลพลเรือนที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน ทิศทางของผู้ที่ถูกดำเนินคดีทางการเมืองยังคงไม่ชัดเจนและสถานการณ์ยังไม่ไปในทางที่เป็นคุณกับผู้ต้องหาคดีการเมือง การออกกฎหมาย “นิรโทษกรรม” ให้แก่ผู้ต้องหาคดีการเมืองเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเป็นทางออกเพื่อทำให้สภาพสังคมหลังผ่านความขัดแย้ง (Po
ชวนดูนิทรรศการ 3 ปี 112 “ผู้ใด หมิ่นประมาท”
อ่าน

ชวนดูนิทรรศการ 3 ปี 112 “ผู้ใด หมิ่นประมาท”

ในโอกาสครบรอบ 3 ปี ที่มาตรา 112 ถูกนำกลับมาบังคับใช้อย่างเข้มข้นจนส่งผลให้ในช่วงเวลาสามปีที่ผ่านมาผู้จำนวนผู้ถูกดำเนินคดีสะสมสูงถึง 262 คน ไอลอว์ถือโอกาสประมวลเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นนิทรรศการ "ผู้ใดหมิ่นประมาท" 
กลุ่มราษฎรยกเลิก 112 พบ รมต.ยุติธรรม เรียกร้องสิทธิผู้ต้องขัง และนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง
อ่าน

กลุ่มราษฎรยกเลิก 112 พบ รมต.ยุติธรรม เรียกร้องสิทธิผู้ต้องขัง และนิรโทษกรรมนักโทษการเมือง

กลุ่มคณะราษฎรยกเลิก 112 รวมตัวกันเดินขบวนไปยังกระทรวงยุติธรรมยื่นเสนอข้อเรียกร้องให้มีการนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองแก่ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง
อ่าน

ย้อนดูจุดยืนพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาฯ ปี 2566 ต่อประเด็น “นิรโทษกรรม” คดีความทางการเมือง

ในช่วงเทศกาลหาเสียง ตามเวทีดีเบตหรือวงเสวนาหรือแม้แต่การให้สัมภาษณ์ หลายพรรคการเมืองที่ได้เข้าสภาจากการเลือกตั้ง 2566 เคยแสดงจุดยืนในประเด็นนิรโทษกรรมคดีความทางการเมืองไว้บ้างแม้อาจยังไม่มีนโยบายชัดเจน ชวนย้อนความจำกันว่าแต่ละพรรคมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง
เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ