จับตาการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แทนนครินทร์ – ปัญญา
อ่าน

จับตาการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แทนนครินทร์ – ปัญญา

เดือนพฤศจิกายน 2567 มีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 2 คนที่จะหมดวาระได้แก่ นครินทร์ เมฆไตรรัตน์และปัญญา อุดชาชน แม้ตุลาการทั้งสองคนนี้จะหมดวาระการดำรงตำแหน่งแล้วแต่จะต้องดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่า สว. จากระบบเลือกกันเอง จะเห็นชอบตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่สองคนมาแทนที่
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ

เมื่อดูข้อกฎหมาย ประกอบกับคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการทั้งเก้าคน พบว่า ศาลรัฐธรรมนูญ “ไม่ได้บอก” ว่าต้องทำประชามติสามครั้ง แต่ยืนยันว่ากระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ต้องทำประชามติสองครั้ง คือ การทำประชามติก่อนเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ และทำประชามติหลังร่างรัฐธรรมนูญใหม่แล้วเสร็จ โดยในตุลาการเก้าคน เสียงข้างมากหกคนยืนยันชัดเจนว่าการทำประชามติตลอดกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สามารถทำได้เพียงสองครั้ง
ผลงาน 5 ปี สว. ชุดพิเศษ “เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน
อ่าน

ผลงาน 5 ปี สว. ชุดพิเศษ “เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน

ตลอดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2562 วุฒิสภาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายนิติบัญญัติมีที่มาแตกต่างจากวุฒิสภาในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า“เห็นชอบ” บุคคลดำรงตำแหน่งองค์กรสำคัญ 96 คน “ไม่เห็นชอบ” 19 คน
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพร้อมหน้า ร่วมยินดีสว. สมชาย แสวงการ รับป.เอก
อ่าน

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพร้อมหน้า ร่วมยินดีสว. สมชาย แสวงการ รับป.เอก

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ร่วมแสดงความยินดีที่สว. สองคนได้รับปริญญาเอก เรื่องนี้มีที่มาเพราะสมชาย แสวงการ สว. ที่รับปริญญาผ่านการคัดเลือกโดยศาลรัฐธรรมนูญให้มาเรียน และกรรมการสอบเล่มจบก็ไม่ใช่ใครอื่น
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่สว.ชุดพิเศษแต่งตั้ง จะทยอยหมดวาระในปี 2570
อ่าน

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่สว.ชุดพิเศษแต่งตั้ง จะทยอยหมดวาระในปี 2570

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดเก้าราย ส่วนใหญ่หกคน มาจากรัฐธรรมนูญ 2560 ผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภาชุดพิเศษ และมีวาระการดำรงตำแหน่งเจ็ดปี อีกสามราย มีวาระดำรงตำแหน่งเก้าปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550 ตุลาการทั้งเก้าคน จะพ้นจากตำแหน่งในเวลาแตกต่างกัน
เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง
อ่าน

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ อุดม รัฐอมฤต อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากบทบาทในฐานะนักวิชาการแล้ว อุดมยังมีบทบาทต่อการเมืองไทย ในฐานะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560
จับตา! กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรธน. อาจได้คนใหม่หน้าคุ้น อุดม รัฐอมฤต อดีตกรธ.
อ่าน

จับตา! กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรธน. อาจได้คนใหม่หน้าคุ้น อุดม รัฐอมฤต อดีตกรธ.

ตำแหน่งแห่งที่ในศาลรัฐธรรมนูญกำลังเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง เมื่อทวีเกียรติ  มีนะกนิษฐ พ้นตำแหน่งแล้ว จึงต้องมีการสรรหาผู้สมควรเป็นตุลาการแทนตำแหน่งที่ว่าง ซึ่งมีเพียงคนเดียวที่สมัครและผ่านด่านกรรมการสรรหาฯ คือ อุดม รัฐอมฤต อดีตกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ปี 2560
จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66

ช่วง “โค้งสุดท้าย” ของสภา จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อกระบวนการจัดทำและแก้ไขกฎหมายต่างๆ หากพิจารณาร่างกฎหมายไม่ทัน ร่างกฎหมายก็จะตกไปและต้องริเริ่มกันใหม่ในสมัยประชุมหน้า
คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมวาระการดำรงตำแหน่งวรวิทย์ กังศศิเทียม มีอายุครบ 70 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550
ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565
อ่าน

ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565

ชวนมาสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของผู้หญิงในองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทย ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ