นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?
อ่าน

นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?

การรวมตัวกันของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ส” บริเวณแยกดินแดงได้ปรากฎภาพการปะทะกันระหว่างเยาวชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนครั้งแล้วครั้งเล่า โดยมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนยาง แก๊สน้ำตา ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นต่างก็ได้รับผลกระทบทั้งในแง่ความปลอดภัยและการใช้ชีวิตประจำวัน จนภาพ “ความรุนแรง” กลายเป็นภาพจำของการชุมนุมในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ของผู้สังเกตการณ์สิ่งที่ได้พบเห็นไม่ได้มีเพียงความรุนแรง แต่ ณ สมรภูมิดินแดง ยังมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งร้านขายของ มีเต็นท์ปฐมพยาบาล บางวันก็มีศิลปินมาเล่นดนตรีสร้างสีสันให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม มีหลายมุมที่ไม่ต่างจากการพื้นที่ชุมนุมอื่นๆมากนัก
ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64
อ่าน

ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64

หากนับย้อนไปถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 จะพบว่า เกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่างตำรวจกับผู้ชุมนุมมาแล้วถึงสี่
ร่าง พ.ร.บ.ข้าว: เพิ่มอำนาจหน้าที่กรมการข้าว ให้สามารถควบคุม และรับรองการจำหน่ายเมล็ดข้าวของชาวนา
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ข้าว: เพิ่มอำนาจหน้าที่กรมการข้าว ให้สามารถควบคุม และรับรองการจำหน่ายเมล็ดข้าวของชาวนา

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เตรียมเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติข้าว ท่ามกลางเสียงค้านประชาชนที่กังวลว่า พ.ร.บ. ฉบับนี้ มีเนื้อหาให้อำนาจหน้าที่เจ้าหน้าที่รัฐในการควบคุม และบังคับใช้กฎหมายมากเกินไป กลับกลายเป็นชาวนา โรงสี และผู้ส่งออกข้าวที่ได้รับผลกระทบแทน อีกทั้งยังอาจจะกระทบกับวิถีชีวิต และพันธุ์ข้าวดั้งเดิมของไทยด้วย
ปกป้องกระดูกสันหลักของชาติด้วย ร่าง พ.ร.บ.ข้าวชาวนาไทย
อ่าน

ปกป้องกระดูกสันหลักของชาติด้วย ร่าง พ.ร.บ.ข้าวชาวนาไทย

ในสังคมไทย ‘ข้าว’ คืออาหารหลักที่หล่อเลี้ยงชีวิตของผู้คนและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ กล่าวได้ว่า ข้าว คือชีวิตและหน้าตาของประเทศ ด้วยเหตุนี้คนไทยจึงมักได้ยินหรือถูกสั่งสอนให้เห็นถึงความสำคัญของข้าวอยู่เสมอ ซึ่งความสำคัญดังกล่าวพบตั้งแต่การกินจนถึงการส่งออกข้าว   แน่นอนว่า การให้ความสำคัญต่อข้าวย่อมหมายรวมถึงการให้ความสำคัญต่อชาวนาในฐานะผู้ผลิตข้าวด้วย อย่างไรก็ตาม การให้ความสำคัญที่นามธรรม เช่น บทเพลง คำขวัญ ฯลฯ นั้น ดูจะเป็นเพียงวาทกรรมที่แห้งแล้งและไม่ได้ให้ความสำคัญต่อคุณค่าและศักดิ์ศรีของชาวนาอย่างเป็นรูปธรรม   ด้วยเหตุนี