จับตาพิจารณา #งบประมาณปี66 3.185 ล้านล้านบาท โค้งสุดท้ายรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

จับตาพิจารณา #งบประมาณปี66 3.185 ล้านล้านบาท โค้งสุดท้ายรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา

31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร มีวาระการพิจารณาหนึ่งในกฎหมายสำคัญ คือ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ร่างพ.ร.บ.งบประมาณปี 2566) ซึ่งตั้งวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีไว้ที่ 3,185,000 ล้านบาท (สามล้านหนึ่งแสนแปดหมื่นห้าพันล้านล้านบาท) เพิ่มจากปีงบประมาณ 2565 มา 85,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น 2.74%
ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”
อ่าน

ตามทันประเด็นร้อนผ่านข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจ มาตรา 144 และปัญหาของ “งบกลาง”

จากข้อเถียงของกมธ. งบประมาณปี 65 ในประเด็นการนำงบที่ถูกตัดไปโปะ "งบกลาง" ชวนอ่านข้อเขียนจาก อานันท์ กระบวนศรี นักศึกษาปริญญาโท กฎหมายมหาชน  ประเทศฝรั่งเศส ที่เขียนอธิบายถึงขอบเขตการแปรญัตติตัดลดงบประมาณ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 144 และการนำไปโปะงบรายการอื่น ปัญหาของ “งบกลาง” และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหากตัดลดงบประมาณและนำไปใส่ในงบกลาง
พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตา
อ่าน

พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตา

เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงการรับมือกับปัญหาทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดของโคโรน่าไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ “โควิด-19” รัฐบาล คสช.2 เตรียมออกมาตรการกู้เงินพิเศษอย่างน้อย 1 ล้านล้านบาท โดยสิ่งที่น่าสนใจ คือ การกู้เงินดังกล่าวจะเป็นการใช้ “ช่องทางพิเศษ” ตาม พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งมีข้อจำกัดในการตรวจสอบแก้ไขวงเงินกู้ที่รัฐบาลต้องใช้ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
เครื่องมือทางการคลังในสถานการณ์ฉุกเฉิน
อ่าน

เครื่องมือทางการคลังในสถานการณ์ฉุกเฉิน

การแพร่ระบาดของโควิด 19 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ได้สร้างผลกระทบอย่างใหญ่หลวงให้กับโลก ไม่ว่าจะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ดังนั้น การรับมือสถานการณ์วิกฤติรัฐต้องมีความเพียบพร้อมในการใช้เงินงบประมาณแก้ปัญหา แต่เนื่องจากการใช้งบประมาณต้องตราเป็นกฎหมายไว้ล่วงหน้าซึ่งอาจไม่ทันกาลกับวิกฤติ ดังนั้น รัฐธรรมนูญ และกฎหมายงบประมาณจึงมีมาตรการอื่นๆ ให้รัฐบาลสามารถเลือกใช้ได้
พ.ร.บ.โอนเงินงบประมาณ: ของดีที่มีความเสี่ยง
อ่าน

พ.ร.บ.โอนเงินงบประมาณ: ของดีที่มีความเสี่ยง

ประชาชนควรต้องตกใจไหม? ถ้ารัฐบาลโอนเงินกว่า 2 หมื่นล้านบาทมาตั้งไว้เป็น "งบกลาง" ซึ่งเป็นงบที่ไม่ค่อยแสดงแผนการใช้จ่ายเงินในรายละเอียด และเปิดช่องให้ฝ่ายบริหารสามารถใช้ดุลพินิจใช้จ่ายงบกลางได้อย่างกว้างขวาง มาร่วมหาคำตอบด้วยกันได้ที่นี่