“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.
อ่าน

“ยกเว้นความรับผิด-ไม่ให้ขึ้นศาลปกครอง” ลักษณะสำคัญของอำนาจพิเศษตาม คำสั่งหัวหน้า คสช.

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ออกตามมาตรา 44 อย่างน้อย 4 ฉบับ ยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ไม่ให้ถูกตรวจสอบโดยศาลปกครอง ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา และทางวินัย ถ้าได้กระทำไปโดยสุจริต อำนาจลักษณะนี้แทบจะเป็นเรื่องปกติไปแล้วในยุค คสช.
ช่วยกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศ คำสั่ง คสช.
อ่าน

ช่วยกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศ คำสั่ง คสช.

ร่วมกันคนละชื่อ เพื่อเสนอกฎหมายยกเลิกประกาศคำสั่ง คสช. จำนวน 35 ฉบับ ในประเด็น เสรีภาพการแสดงออกของประชาชน เสรีภาพสื่อ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิชุมชน เพื่อทวงคืนสถานการณ์ปกติ และปลดอาวุธ คสช.
ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ต่างกันอย่างไร?
อ่าน

ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่งหัวหน้า คสช. ต่างกันอย่างไร?

นับถึงปลายปี 2560 เราได้ยินว่า หน่วยงานรัฐทำงานโดยอ้างอิงอำนาจหน้าที่จากทั้ง ประกาศ คสช., คำสั่ง คสช. และคำสั่ง หัวหน้า คสช. กันเต็มไปหมด ลองทำความเข้าใจเบื้องต้นกันว่า คำทั้งสามนี่้ มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร ในทางกฎหมายทำไมถึงใช้คำไม่เหมือนกัน
กฎหมายฮาเฮ: ประกาศ/คำสั่ง คสช. แบบนี้ก็มีด้วยเหรอนี่!
อ่าน

กฎหมายฮาเฮ: ประกาศ/คำสั่ง คสช. แบบนี้ก็มีด้วยเหรอนี่!

ประกาศและคำสั่ง คสช. มีรวมกันกว่า 500 ฉบับแล้ว ครอบคลุมไปแทบจะทุกเรื่อง ด้วยความรวดเร็วในการออก ปริมาณที่มหาศาล และการไม่มีส่วนร่วมจากใครเลย ทำให้หลายฉบับออกมาโดยคนส่วนใหญ่ไม่ทราบว่ามีอยู่ หากลองหยิบมาวิเคราะห์กันละเอียดๆ อาจจะพบเรื่องราวน่าประหลาดใจได้
“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล
อ่าน

“มาตรา 44” ไม่โดดเดี่ยว : เผด็จการในอดีตมีทั้งมาตรา 17, 21, 27 ส่วนใหญ่ใช้อำนาจแทนศาล

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ไม่ได้มีแค่ "มาตรา44" ของ คสช. เท่านั้นที่เป็นอำนาจเบ็ดเสร็จ ยังมี "มาตรา17" ของจอมพลสฤษดิ์ จอมพลถนอม มี "มาตรา 27" ของพลเอกเกรียงศักดิ์ และอื่นๆ อีก แต่การใช้อำนาจนี้ส่วนใหญ่ในอดีตจะเป็นการตัดสินลงโทษบุคคล ต่างกับ คสช. ที่ใช้ออกกฎหมายและโยกย้ายตำแหน่ง
รายงานปี 2559 “ช่องทางออกกฎหมายผูกขาด-ขาดการมีส่วนร่วม”
อ่าน

รายงานปี 2559 “ช่องทางออกกฎหมายผูกขาด-ขาดการมีส่วนร่วม”

ที่ผ่านมาการออกกฎหมายทั้งโดย สนช.และใช้คำสั่ง คสช.ตามมาตรา 44 คือความ 'เงียบ'  ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ในขั้นตอนการออกกฎหมายที่แทบจะไม่มีเสียงหรือเจตนารมณ์ของประชาชนสะท้อนอยู่ในนั้นเลย สะท้อนผ่านจำนวนปริมาณกฎหมายจำนวนมากที่ยังมีเสียงคัดค้านอยู่
เกมการ์ด “เราจะทำตามสัญญา” Bangkok’s Big Brother
อ่าน

เกมการ์ด “เราจะทำตามสัญญา” Bangkok’s Big Brother

ไอลอว์ลองคิดการ์ดเกมจำลองสถานการณ์ในปัจจุบันที่กฎหมาย ประกาศ คสช. และกลไกหลายอย่างถูกนำมาใช้เพื่อห้ามการสื่อสาร ทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปพิมพ์และเล่นกันได้ พร้อมกติกาการเล่น และข้อมูลความรู้ประกอบการเล่น หรือจะช่วยกันคิดค้นปรับปรุงกติกาให้สนุกและทันสมัยขึ้นก็ได้
มาตรา 44 กับอำนาจถอดถอน แต่งตั้ง โยกย้าย ระงับการทำงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
อ่าน

มาตรา 44 กับอำนาจถอดถอน แต่งตั้ง โยกย้าย ระงับการทำงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

iLaw ได้ทบทวนเกี่ยวกับคำสั่งหัวหน้า คสช. โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ในเรื่องของการถอดถอน โยกย้าย แต่งตั้ง และตรวจสอบการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐ พบว่ามีการใช้คำสั่งหัวหน้า คสช. เกี่ยวกับเรื่องการโยกย้ายเจ้าหน้ารัฐอย่างน้อย 6 ฉบับ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รัฐอย่างน้อย 10 ฉบับ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสั่งพักงาน โยกย้าย หรือถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตอีกอย่างน้อย 6 ฉบับ