พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก

ตลอดสองเดือนที่ผ่านมา รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถึงสองครั้ง แต่กลับไม่มีรายงานความคืบหน้าเรื่องความพร้อมของการตรวจหาผู้ติดเชื้อ หรือการจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันโรค ทั้งที่เป็นหนึ่งในมาตรการสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจได้โดยไม่เสี่ยงต่อโรคระบาด
เปิดรายชื่อ ส.ว. กลุ่มอาชีพ 50 คน ที่เลือกโดย คสช. ตุลาการศาลทหารอยู่กลุ่มสิ่งแวดล้อม!
อ่าน

เปิดรายชื่อ ส.ว. กลุ่มอาชีพ 50 คน ที่เลือกโดย คสช. ตุลาการศาลทหารอยู่กลุ่มสิ่งแวดล้อม!

วุฒิสภาชุดพิเศษทำงานครบรอบการทำงานหนึ่งปีนับแต่ที่เปิดสภาในวันที่ 23 พฤษภาคม 2563 ซึ่ง ในจำนวน ส.ว. 250  คนนี้  รัฐธรรมนูญ 2560 กำหนดให้ ส.ว. มีที่มาแบบพิเศษ โดยหกคนมาจากผู้นำเหล่าทัพต่างๆ และปลัดกระทรวงกลาโหม อีก 194 คนมาจากกระบวนการที่ คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาขึ้นชุดหนึ่ง ไปหยิบเลือกรายชื่อมาจำนวนหนึ่งและส่งให้ คสช. เลือกขั้นตอนสุดท้าย ส่วนอีก 50 คน เรียกว่าเป็น ส.ว. "สายอาชีพ"
ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน
อ่าน

ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน

22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น 
‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ
อ่าน

หกปีผ่านมา “คสช.1” ลาจอ แต่คดีต้านอำนาจ คสช. ยังต้องสู้ต่อ

22 พฤษภาคม 2563 คร…
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: หนึ่งเดือนหลังใช้ “ยาแรง” เราเห็นอะไรบ้าง
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: หนึ่งเดือนหลังใช้ “ยาแรง” เราเห็นอะไรบ้าง

นับตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 จนถึง 11 พฤษภาคม 2563 เป็นเวลากว่าหนึ่งเดือนเศษที่รัฐบาล 'คสช.2' เลือกใช้ "ยาแรง" อย่าง พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หลังการประกาศใช้มาร่วมหนึ่งเดือนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค "ดูดีขึ้น" จากตัวเลขผู้ติดเชื้อรายวันที่น้อยลง แต่คำถามถึงความจำเป็นในการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเหตุผลเบื้องลึกเบื้องหลังของการใช้ยังไม่จางหายไป
เปิดค่าตอบแทนแบบใหม่ คกก.จัดทำยุทธศาสตร์ชาติ และ คกก.ปฏิรูปประเทศ
อ่าน

เปิดค่าตอบแทนแบบใหม่ คกก.จัดทำยุทธศาสตร์ชาติ และ คกก.ปฏิรูปประเทศ

5 พฤษภาคม 2563 คณะรัฐมนตรี (ครม.) มติเห็นชอบตามผลการประชุมของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2563 ที่ให้เพิ่มค่าตอบแทนของคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ ขึ้นจากเดิมร้อยละ 20
เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด
อ่าน

เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด

จากที่เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศแต่งตั้ง นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองคมนตรี มาดูกันว่าชีวิตของนุรักษ์ตั้งแต่ก่อนเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งได้เป็นองคมนตรี มีผลงานเด่นๆ อะไรบ้าง
เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ
อ่าน

เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ

การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ไอลอว์จึงอยากชวนจับตามองกระบวนการคัดเลือก กสม. ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้