เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ
อ่าน

เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ

เงื่อนไขที่จะทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ “ต้อง” ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้หลายช่องทาง ซึ่งการจะทำความเข้าใจวิธีการถอดถอนนายกรัฐมนตรีทั้งหมดได้ ต้องพิจารณาจากหลายมาตราประกอบกัน โดยเริ่มจากมาตราหลัก คือ มาตรา 170 
ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”
อ่าน

ถอดรหัสการลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ – ส.ว. โหวตแบบ “ไม่สนโลก”

จากการตรวจดูผลการลงมติแก้รัฐธรรมนูญ พบว่า การลงมติของ ส.ว. เป็นไปอย่าง “ไม่สนโลก” ไม่ว่าจะเป็นการลงมติเพื่อขัดขวางเสียงข้างมากของสภาผู้แทนฯ การขาดประชุมของ ส.ว. ที่ควบตำแหน่งผู้นำเหล่าทัพ หรือ การเปลี่ยนจุดยืนของ ส.ว. ที่เคยลงมติปิดสวิตซ์ ส.ว.
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการประชุมสภาแก้รัฐธรรมนูญภาคสองวันแรก

23 มิถุนายน 2564 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ซึ่งประกอบไปด้วย ส.ส. และ ส.ว. มีนัดพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญแบบ “รายมาตรา” รวมกัน 13 ฉบับ โดยประเด็หลักที่มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางคือ เรื่องอำนาจของ ส.ว. ในการร่วมเลือกนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 กับ การจำกัดอำนาจของ ส.ส. ในการแปรญัตติงบประมาณ และการแทรกแซงการดำเนินงานของราชการ ตามมาตรา 144 กับ 185 ตามลำดับ
ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง

ศึก #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสองที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 22-24 มิถุนายน 2564 ข้อเสนอสำคัญที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล ยกเว้นพรรคพลังประชารัฐและพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมใจกันยื่น คือ การตัดอำนาจ ส.ว. ซึ่งในการแก้ไขเรื่องดังกล่าวคงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องอาศัยเสียงเห็นชอบจากตัว ส.ว. เองไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 หรือประมาณ 84 คนจากเสียงทั้งหมด 250 คน
แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล

ในศึกการแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง ทั้งพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านต่างมีจุดร่วมสำคัญอยู่ที่การแก้ไขเรื่อง “ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 แต่จุดต่างที่สำคัญ ซึ่งพรรคพลังประชารัฐเป็นกลุ่มเดียวที่ไม่ยอมเสนอ คือ การ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” หรือยกเลิกที่มาและอำนาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล หรือ ยกเลิก ส.ว. ที่มาจากการคัดเลือกของ คสช.
สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?
อ่าน

สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?

9 มิถุนายน 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ซึ่งถือว่าเป็นการกู้เงินรอบที่สองของรัฐบาล ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่ผ่านมารัฐบาลล้มเหลวในการใช้เงินกู้เพื่อแก้ปัญหาจากโรคโควิด-19
แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.

มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามของรัฐสภาที่จะแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในวาระสองเพื่อทำให้รัฐธรรมนูญแก้ง่ายขึ้น โดยให้ใช้เสียง "สามในห้า" ของรัฐสภา แต่ทว่า หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวก็ยังคงทำให้คสช. เป็นฝ่ายได้เปรียบอยู่ดี  
ส.ว. แต่งตั้ง: การแทรกแซงสถาบันตุลาการของ คสช. ผ่าน ส.ว. ชุดพิเศษ
อ่าน

ส.ว. แต่งตั้ง: การแทรกแซงสถาบันตุลาการของ คสช. ผ่าน ส.ว. ชุดพิเศษ

รัฐธรรมนูญ 2560 เปลี่ยนที่มาของ ส.ว. ให้มาจากกระบวนการคัดเลือกของ คสช. ด้วยเหตุนี้ คสช. จึงกลายเป็นคนที่เข้ามาแทนที่ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ กับประชาชน