ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ

บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ
อ่าน

ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ

คำถามประชามติ คือสิ่งที่สำคัญในการกำหนดทิศทางการรณรงค์และลงคะแนนของประชาชนว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับคำถามนั้น ถ้าคำถามมีปัญหาก็อาจจะส่งผลต่อการลงคะแนนเสียงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนหรืออาจทำให้การจัดประชามติไร้ความหมาย ดังนั้นคำถามจะถูกจัดการออกมาในรูปแบบไหนถึงมีความสำคัญไม่แพ้การออกเสียงประชามติ                  
ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”
อ่าน

ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”

23 ก.ค. 2565 ผลการลงมติเป็นไปตามคาดคือรมต.ทั้ง 11 คน รอดจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ดี ผลของการอภิปรายยังทำให้เห็นความขัดแย้งไม่เป็นเอกภาพของพรรคร่วมรัฐบาล รวมทั้งความแตกแยกภายในของแต่ละพรรค
ฝ่ายค้านต้องการ 240 เสียง เพื่อล้มรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อ่าน

ฝ่ายค้านต้องการ 240 เสียง เพื่อล้มรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

23 กรกฎาคม 2565 จะเป็นวันลงมติหลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจและจะเป็นการอภิปรายและลงมติครั้งสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 เพื่อจะล้มรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา พรรคฝ่ายค้านและฝ่ายค้านอิสระต้องการเสียงจากขั้วรัฐบาลอีก 28 เสียงเท่านั้น
3 ผลลัพธ์จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
อ่าน

3 ผลลัพธ์จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

ในอดีตที่ผ่านมาไม่เคยมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งไหนเลยที่เสียงส่วนใหญ่ของสภาผู้แทนราษฎรจะเอารัฐมนตรีออกจากตำแหน่งหรือนำไปสู่การเปลี่ยนรัฐบาลได้ แต่การอภิปรายไม่ไว้วางใจในแต่ละครั้งก็นำไปสู่ผลลัพธ์ที่สร้างแรงกดดันให้รัฐบาลได้อย่างน้อย 3 ด้าน
ขนุน สิรภพ: ขบวนไม่ได้ล้มเหลวแต่การต่อสู้ทางการเมืองเรื่องระยะยาว
อ่าน

ขนุน สิรภพ: ขบวนไม่ได้ล้มเหลวแต่การต่อสู้ทางการเมืองเรื่องระยะยาว

สิรภพ หรือ ขนุน อาจไม่ใช่นักกิจกรรมที่อยู่แถวหน้าในการเคลื่อนไหวและไม่ใช่นักปราศรัยขาประจำ แต่ในช่วงเดือนตุลาคม 2563 ที่แกนนำคณะราษฎรหลายๆ คนถูกคุมขังหลังการสลายการชุมนุม 15 ตุลาคม 2563 ขนุนก็ตัดสินใจขึ้นปราศรัยในการชุมนุมใหญ่ที่แยกปทุมวัน ครั้งนั้นเขายังไม่ถูกดำเนินคดี  
จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
3 ขั้นตอน วิธีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
อ่าน

3 ขั้นตอน วิธีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

31 มกราคม 2563 หกพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีหกคน โดยคาดว่าจะมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 19-23 กุมภาพันธ์ ซึ่งระหว่างนั้นนายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้ จากนั้นจะเว้นการประชุมสภาไว้ 1 วัน จึงกลับมาลงมติได้ ถ้ารัฐมนตรีคนใดถูก ส.ส.เกินครึ่งสภาลงมติไม่ไว้วางใจ ต้องพ้นจากตำแหน่ง
ดูรายชื่อรัฐมนตรี “คนนอก” 16 คน ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง
อ่าน

ดูรายชื่อรัฐมนตรี “คนนอก” 16 คน ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง

รายชื่อคณะรัฐมนตรีทั้ง 36 คนของรัฐบาลประยุทธ์ 2 พบว่า 16 คน ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นโควต้าของพรรคพลังประชารัฐถึง 11 คน
ปิดฉาก คสช. แต่ยังอยู่ต่อ ครม. ประยุทธ์ 2
อ่าน

ปิดฉาก คสช. แต่ยังอยู่ต่อ ครม. ประยุทธ์ 2

10 กรกฎาคม ครม. ชุดใหม่หลังการเลือกตั้ง ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งเสร็จแล้ว พบว่าเป็นคนใกล้ชิดหรือเคยทำงานกับ คสช. อย่างน้อย 11 คน