ต้องอีกกี่ก้าว? ประชาชนจะเสนอกฎหมายได้จริง
อ่าน

ต้องอีกกี่ก้าว? ประชาชนจะเสนอกฎหมายได้จริง

หลังผ่านประสบการณ์ 10 ปีของการเสนอกฎหมายโดยประชาชน บทเรียนที่สรุปได้คือ รัฐธรรมนูญก็เพียงเขียนบทให้ประชาชนมาเล่นลิเกเท่านั้น
ปชช.จับมือขอปธ.สภา พิจารณากฎหมายประชาชนต่อจากสภาที่แล้ว
อ่าน

ปชช.จับมือขอปธ.สภา พิจารณากฎหมายประชาชนต่อจากสภาที่แล้ว

เครือข่ายประชาชนผู้ผลักดันกฎหมายด้วยการเข้าชื่อ 10,000 คน ร่วมกันเข้าพบประธานรัฐสภาขอให้สนับสนุนและมีมติเห็นชอบให้เดินหน้านำร่างกฎหมายประชาชนที่ค้างอยู่ในสภาที่แล้วมาพิจารณาต่อในสภานี้
สรุปบทเรียน การรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอกฎหมาย : กรณีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
อ่าน

สรุปบทเรียน การรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอกฎหมาย : กรณีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

รายงานสรุปบทเรียนเล่าถึงขั้นตอนการรวบรวมรายชื่อจำนวนมาก ประสบการณ์ ข้อผิดพลาด ปัญหาและอุปสรรค การทำงานกับฝ่ายรัฐและฝ่ายการเมือง
ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (ฉบับสถาบันพระปกเกล้า)
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (ฉบับสถาบันพระปกเกล้า)

เนื่องจากเวลานี้ ต้องมีกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ สถาบันพระปกเกล้าจึงพยายามรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอ
ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (ฉบับสถาบันพระปกเกล้า)
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (ฉบับมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ)

เนื่องจากเวลานี้ ต้องมีกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติจึงพยายามรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อเสนอ
วิเคราะห์เปรียบเทียบ : ร่างกฎหมายเข้าชื่อ ฉบับสถาบันพระปกเกล้า VS ฉบับมสช.
อ่าน

วิเคราะห์เปรียบเทียบ : ร่างกฎหมายเข้าชื่อ ฉบับสถาบันพระปกเกล้า VS ฉบับมสช.

“ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ….” มีหลายฝ่ายร่างเนื้อหาขึ้นมา มีอยู่ 2 ฉบับที่จะใช้วิธีผลักดันกฎหมายด้วยการระดมชื่อจากประชาชน ลองดูเนื้อหาเปรียบเทียบกันเพื่อเลือกสนับสนุน
ลุ้นกฎหมายเข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ใช้-ไม่ใช้ สำเนาทะเบียนบ้าน
อ่าน

ลุ้นกฎหมายเข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ ใช้-ไม่ใช้ สำเนาทะเบียนบ้าน

ในปี 2552 มีหลายหน่วยงานพยายามเสนอ ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายฉบับใหม่ สิ่งที่ต้องจับตาคือ การลงนามเสนอกฎหมายของประชาชน ต้องแนบหลักฐานอะไรให้ยุ่งยากอีกบ้าง