#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน
อ่าน

แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน

11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00 น. ตัวแทนองค์กรภาคประชาชนชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีในองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลชุดนี้มาตลอด เป็นการตรวจสอบที่เรียกว่า ล้วงลูกทั้งที่เป็นอำนาจของสรรพากรและไม่ใช่อำนาจของสรรพากร
รวมข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากการชุมนุม ในปี 2564
อ่าน

รวมข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากการชุมนุม ในปี 2564

  เปิดข้อมูลผู้บาดเจ็บจากเหตุปะทะในการชุมนุมตลอดปี 2564 พบผู้บาดเจ็บ 528 คน เป็นตำรวจ 146 นาย ผู้ชุมนุมเสียชีวิต 1 คน ตาบอด 2 คน เป็นนักข่าวบาดเจ็บ 29 คน ส่วนใหญ่จากเหตุปะทะดินแดง และโดนกระสุนยางยิงแบบขัดหลักสากล      จากการรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บจากการสังเกตการณ์ของเว็บไซต์ Mobdatathailand.org และโครงการ Child in Mob, ข
“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง
อ่าน

“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง

ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง “ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” กับ “ตำรวจชุดคุมฝูงชน” บทสรุปของการปะทะเกือบทุกครั้งจบลงด้วยการสลายการชุมนุมโดยตำรวจ เริ่มต้นด้วยการเขย่าเส้นความอดทนของตำรวจด้วยการใช้ประทัดยักษ์ พลุ ระเบิดเพลิง หรือขวดแก้วตามแต่จะหยิบฉวยได้ปาใส่แนวคอนเทนเนอร์หลายครั้ง ด้วยแนวสิ่งกีดขวางและระยะห่างของตำรวจก็ยากที่จะทะลุทะลวงอุปกรณ์ป้องกันของฝ่ายรัฐที่มีทั้งโล่ ชุดเกราะ แต่ทุกครั้งจบด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยางและอุปกรณ์อื่นๆ ในความครอบครองของเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนที่ถูกประเคนคืนกลับมาในฐานะ “กา
ศาลแพ่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและไต่สวนฉุกเฉิน แต่คดีเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงยังไม่สิ้นสุด
อ่าน

ศาลแพ่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและไต่สวนฉุกเฉิน แต่คดีเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงยังไม่สิ้นสุด

วันนี้ (22 ตุลาคม …
สรุปคำฟ้อง เพิกถอนสถานการณ์ฉุกเฉิน ยื่นโดยนิสิต นักศึกษา
อ่าน

สรุปคำฟ้อง เพิกถอนสถานการณ์ฉุกเฉิน ยื่นโดยนิสิต นักศึกษา

วันนี้ (21 ตุลาคม 2563) เวลาประมาณ 10.30 น. นิสิต นักศึกษาจำนวน 6 คน พร้อมด้วยเครือข่ายทนายความสิทธิมนุษยชน ได้เดินทางไปยื่นฟ้องต่อศาลแพ่ง รัชดา เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง รวมทั้งประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และยื่นขอคุ้มครองชั่วคราวพร้อมทั้งขอไต่สวนฉุกเฉิน
The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ
อ่าน

The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
ไวรัสอู่ฮั่น อีกเหตุผลที่เราต้องรักษาเสรีภาพ
อ่าน

ไวรัสอู่ฮั่น อีกเหตุผลที่เราต้องรักษาเสรีภาพ

ไม่ใช่ครั้งแรกที่จีนแสดงท่าทีปกปิดข้อเท็จจริงหรือจำกัดเสรีภาพการแสดงออกเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรค แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในครั้งการแพร่ระบาดของโรคซาร์สเมื่อปี 2545 การแพร่ระบาดของไวรัสในระบบทางเดินหายใจทั้งสองครั้งกลายเป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่า ทำไมเราต้องปกป้องเสรีภาพในทุกด้านของมนุษย์ทุกคน
เปิดข้อมูลเฟซบุ๊ก ปี 2560 บล็อคเนื้อหาในไทย 365 เรื่อง
อ่าน

เปิดข้อมูลเฟซบุ๊ก ปี 2560 บล็อคเนื้อหาในไทย 365 เรื่อง

ในปี 2560 เฟซบุ๊กปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาไป 42,330 เรื่อง เป็นเนื้อหาจากประเทศไทย 365 เรื่อง ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2560 มีการจำกัดการเข้าถึงเนื้อหาทั่วโลกจำนวน 28,036 เรื่อง โดยประเทศที่มีการจำกัดเนื้อหามากที่สุดคือ เม็กซิโก ที่ 20,527 เรื่อง รองลงมา คือ เยอรมนี ที่ 1,297 เรื่อง และอินเดียที่ 1,228 เรื่อง ไทยอยู่ที่อันดับที่ 11 จากทั้งหมด 29 ประเทศ ที่ 226 เรื่อง โดยสำหรับเนื้อหาที่ถูกจำกัดในประเทศไทยเป็นเนื้อหาที่เข้าข่ายหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งการปิดกั้นเป็นผลมาจากคำร้องจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และกองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.)