กฎหมายการชุมนุม ประชาชนควรมีส่วนร่วม
อ่าน

กฎหมายการชุมนุม ประชาชนควรมีส่วนร่วม

การชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง ฝ่ายผู้ชุมนุมมองว่าเป็นสิทธิเด็ดขาดที่พึงมี แต่ทางฝ่ายรัฐบาลก็จะมองว่าการชุมนุมจะต้องมีกรอบมาบังคับเพื่อให้ง่ายต่อการควบคุม
การชุมนุมของประเทศไทยกับบทศึกษาของกฎหมายชุมนุมต่างประเทศ
อ่าน

การชุมนุมของประเทศไทยกับบทศึกษาของกฎหมายชุมนุมต่างประเทศ

การดำเนินการของรัฐไทยเกี่ยวกับการชุมนุมก็ยังไม่ใช่คำตอบของสังคมไทย สมควรที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมหรือไม่
จะอยู่กันอย่างไร ถ้าไม่มีกฎหมายความมั่นคง
อ่าน

จะอยู่กันอย่างไร ถ้าไม่มีกฎหมายความมั่นคง

จากที่ไอลอว์ ได้เสนอให้ยกเลิกกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงของรัฐ จึงตอบคำถามด้วยข้อกฎหมายว่า หากกฎหมายเหล่านี้ถูกยกเลิกแล้วจะใช้กฎหมายอื่นที่ยังมีอยู่เพื่อดูแลประชาชนอย่างไร
วิเคราะห์เปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ 2 ฉบับ
อ่าน

วิเคราะห์เปรียบเทียบร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ 2 ฉบับ

ครม.เตรียมดันกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ให้การชุมนุมต้องแจ้งก่อน – คัดค้านได้ ห้ามชุมนุมหน้าสถานที่ราชการ ขณะที่มสช. ก็ดันร่างอีกฉบับขึ้นมาคู่กัน
ฉุกเฉินร้ายแรง ฉบับหมากัดหาง : ยิ่งรุนแรงยิ่งใช้พ.ร.ก. หรือ ยิ่งใช้พ.ร.ก.ยิ่งรุนแรง
อ่าน

ฉุกเฉินร้ายแรง ฉบับหมากัดหาง : ยิ่งรุนแรงยิ่งใช้พ.ร.ก. หรือ ยิ่งใช้พ.ร.ก.ยิ่งรุนแรง

หลากมุมมองต่อการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงจากการชุมนุมคนเสื้อแดง เหตุผลที่ทำให้ต้องประกาศมีน้ำหนักเพียงพอไหม ผลกระทบจากการประกาศมีอะไรบ้าง บทเรียนที่ประชาชนได้รับ และจะแก้ปัญหาระยะยาวอย่างไร
อำนาจรัฐกับการชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

อำนาจรัฐกับการชุมนุมสาธารณะ

เมื่อเจ้าหน้าที่รัฐใช้อาวุธ วิธีการ เหตุผล และอาศัยกฎหมายที่ให้อำนาจแตกต่างกันไป ประเด็นที่สาธารณะชนต้องให้ความสนใจมากขึ้น จึงมีทั้งเรื่องอาวุธที่อยู่ในมือรัฐ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และวิธีการแบบใดที่สามารถกระทำได้
ครม.รับหลักการ กม.คุมม็อบที่สตช.เสนอ
อ่าน

ครม.รับหลักการ กม.คุมม็อบที่สตช.เสนอ

ครม.รับหลักร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มอบคณะกรรมการกฤษฎีกายกร่าง สาระสำคัญคือ ให้แจ้งล่วงหน้า 5 วัน ห้ามปิดล้อมสถานที่ราชการหรือเข้าใกล้เขตพระราชฐาน ห้ามพกพาอาวุธ ให้ขอกำลังทหารเข้าคุมสถานการณ์ได้