ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก
อ่าน

ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก

งานเสวนาวันเสรีภาพสื่อโลก ฐปนีย์ เผยเพิ่งได้รับหมายเรียกฐานหมิ่นประมาท จากการรายงานข่าวว่า ส.ส. ถูกร้องเรียนให้ตรวจสอบพฤติกรรม ศ.วิทิต ยืนยันต้องยุติคดีการเมืองก่อนแล้วค่อยแก้กฎหมาย ร้ององค์กร UN สั่งยุติคดีอาญาต่อเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีที่แสดงออกทางการเมือง
เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
แถลงการณ์ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง
อ่าน

แถลงการณ์ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง

คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 
คนสามจังหวัดฟ้อง กสทช. เหตุตัดสัญญาณมือถือเพราะไม่สแกนใบหน้า
อ่าน

คนสามจังหวัดฟ้อง กสทช. เหตุตัดสัญญาณมือถือเพราะไม่สแกนใบหน้า

2 กรกฎาคม 2563 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม โดยปรีดา นาคผิว ในฐานะผู้รับมอบอำนาจของผู้ฟ้องคดี ได้ยื่นฟ้องกสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เนื่องจากประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ถูกตัดสัญญาณโทรศัพท์ เพราะไม่ได้ลงทะเบียนสแกนใบหน้าซิมโทรศัพท์เคลื่อนที่ “สองแชะ” เพิ่มจากการลงทะเบียนปกติ
กับดักเงื่อนไข “การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี และเป็นกิจกรรมที่ได้รับอนุญาต”
อ่าน

กับดักเงื่อนไข “การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี และเป็นกิจกรรมที่ได้รับอนุญาต”

บทความจาก อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขียนวิเคราะห์ประกาศของสำนักบริหารกิจการนิสิต ที่ไม่อนุมัติให้จัดกิจกรรม โดยอ้างว่า การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายและรัฐธรรมนูญ  
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก

ตลอดสองเดือนที่ผ่านมา รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถึงสองครั้ง แต่กลับไม่มีรายงานความคืบหน้าเรื่องความพร้อมของการตรวจหาผู้ติดเชื้อ หรือการจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันโรค ทั้งที่เป็นหนึ่งในมาตรการสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจได้โดยไม่เสี่ยงต่อโรคระบาด
Thailand Post Election Report: ม.116 “ยุยงปลุกปั่น” อาวุธทางการเมืองและสิ่งทดแทน ม.112
อ่าน

Thailand Post Election Report: ม.116 “ยุยงปลุกปั่น” อาวุธทางการเมืองและสิ่งทดแทน ม.112

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้กับคนที่แสดงออกทางการเมืองต่อต้าน (คสช.)
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง

ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ เขียนชัดเจนว่า อะไรที่ไม่ได้ห้ามไว้ในกฎหมายประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะทำได้ เท่าที่ไม่กระทบ "ความมั่นคง" เงื่อนไขจำกัดสิทธิข้อนี้ไม่เคยมีในฉบับปี 2540 และ 2550 ส่วนสถานะ "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์" ก็ถูกจัดวางใหม่
ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย