พ.ร.บ. จริยธรรมสื่อฯ ส่อตั้งองค์กรใหม่รับงบ แต่กลไกภาครัฐยังไร้มาตรฐาน
อ่าน

พ.ร.บ. จริยธรรมสื่อฯ ส่อตั้งองค์กรใหม่รับงบ แต่กลไกภาครัฐยังไร้มาตรฐาน

ร่างพ.ร.บ. จริยธรรมสื่อฯ เป็นความพยายามในการสร้างหลังพิงทางกฎหมายให้องค์กรสื่อและคนทำงานสื่อสามารถกำกับดูแลกันเองได้ แต่ก็ยังมีเครื่องหมายคำถามชิ้นโตถึงความอิสระของ "สภาวิชาชีพสื่อมวลชน" ที่รับเงินจากรัฐ รวมถึงการให้พื้นที่คนจากของค์กร "สื่อแบบดั้งเดิม" แต่ไม่มีพื้นที่สำหรับ "สื่อใหม่" ในภูมิทัศน์สื่อที่กำลังเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
“ก็แค่มาตรวจให้นายเท่านั้นแหละ” ตำรวจเยี่ยมบ้าน 2 สมาชิก #ทะลุฟ้า ก่อนวันเฉลิมพระชนมพรรษา
อ่าน

“ก็แค่มาตรวจให้นายเท่านั้นแหละ” ตำรวจเยี่ยมบ้าน 2 สมาชิก #ทะลุฟ้า ก่อนวันเฉลิมพระชนมพรรษา

27 กรกฎาคม 2565 นักกิจกรรมทะลุฟ้าสองคนแจ้งว่า เมื่อช่วงเช้าตำรวจเข้า “เยี่ยมบ้าน” และพูดคุยกับผู้ปกครองของทั้งสองในลักษณะคล้ายคลึงกัน การคุกคามครั้งนี้อาจเกี่ยวเนื่องกับกรณีที่โลกออนไลน์นัดทำกิจกรรมสวมใส่เสื้อดำในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565 ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษารัชกาลที่สิบ อย่างไรก็ตาม ทะลุฟ้าไม่ได้มีการประกาศทำกิจกรรมในวันนี้หรือเกี่ยวเนื่องกับการสวมเสื้อดำแต่อย่างใด   เขาบอกว่า “โดนสั่งมาให้มาดูที่อยู่น้อง” แล้วก็ขอถ่ายรูปกับแม่เรา  ออ นักกิจกรรมอายุ 20 ปี หนึ่งในสมาชิกที่ถู
8 ปีคสช. : เราจะทำตามสัญญา…คุกคามประชาชนถ้วนหน้า
อ่าน

8 ปีคสช. : เราจะทำตามสัญญา…คุกคามประชาชนถ้วนหน้า

ในช่วงที่กระแสการชุมนุมทางการเมืองสูงขึ้น เรื่องราวของนักกิจกรรมที่ถูกเจ้าหน้าที่รัฐคุกคามไม่ว่าจะเป็นการไปเยี่ยมที่บ้าน โทรศัพท์ข่มขู่ หรือขับรถตาม เกิดขึ้นแทบทุกวันจนเห็นรายงานข่าวอยู่บ่อยๆ และกลายเป็นเรื่องชินตาของสังคม อย่างไรก็ตาม การคุกคามในรูปแบบที่กล่าวถึงนั้น “ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้น” หากแต่เป็นกลยุทธ์ที่ถูกใช้มาอย่างยาวนานตั้งแต่การยึดอำนาจของคสช.ในปี 2557 โดยเป็นปฏิบัติการที่มุ่งหวังให้สังคมไทยกลายเป็น “สังคมปลอดการเมือง” (Depoliticize society) ผ่านการปราบปรามและปิดกั้นเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ  เมื่อล่วงเวลามาภายหลังการเลือกตั้ง 2562 วลี “เลือก
8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน เอกชัย หงส์กังวาน นักสู้ผู้ยอมหักไม่ยอมงอ

รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 เวียนมาครบรอบแปดปีในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ระยะเวลาแปดปีที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในประเทศนี้หลายประการ เช่น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผันตัวจากหัวหน้าคณะรัฐประหารมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่เข้าสู่อำนาจตามกลไกปกติรัฐธรรมนูญ 2560 พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ พี่ใหญ่ คสช.ผันตัวเป็นนักการเมืองแบบเต็มตัวด้วยการสมัครเป็นสมาชิกและขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ  จากนั้นก็มีการจัดการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 การเลือกตั้งในปี 2562 และการสิ้นสภาพของคสช.
‘ได้หมาย YOUNG’ EP.2 คุยกับสี่นักกิจกรรม กลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ และ ‘เฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน’
อ่าน

‘ได้หมาย YOUNG’ EP.2 คุยกับสี่นักกิจกรรม กลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ และ ‘เฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน’

การลุกฮือของภาคประชาชนในปี 2563 ส่งผลให้มีกลุ่มเครือข่ายเยาวชนที่สนใจทำกิจกรรมทางการเมืองตามแต่ละภูมิภาคในไทยเกิดขึ้นมากมาย อย่างไรก็ตาม เยาวชนเหล่านี้กลับต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดี รวมทั้งถูกคุกคามจากเจ้าหน้าที่รัฐในหลากหลายรูปแบบ 20 กันยายน 2564 รายการ ‘ได้หมาย Young EP.2’ พาไปร่วมพูดคุยกับเยาวชนจากจังหวัดร้อยเอ็ดที่ได้รับหมายคดีจากการทำกิจกรรมทางการเมืองจำนวนสี่คน ได้แก่ ไอคอน กับ ฟิล์ม จากกลุ่มเฟมินิสต์ปลดแอกภาคอีสาน และ ปั๊ก กับ โอเว่น จากกลุ่ม ‘Free People 101 – สหภาพร้อยเอ็ดปลดแอก’ ดำเนินรายการโดย ดวงทิพย์ ฆารฤทธิ์   <
‘ได้หมาย Young’  EP.1 คุยกับสามนักกิจกรรมกลุ่ม ‘โคราชมูฟเมนต์’
อ่าน

‘ได้หมาย Young’ EP.1 คุยกับสามนักกิจกรรมกลุ่ม ‘โคราชมูฟเมนต์’

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือ ‘อีสาน’ เป็นภูมิภาคหนึ่งที่มีการชุมนุมทางการเมืองอย่างคับคั่งไม่น้อยไปกว่ากรุงเทพมหานคร รายการ ‘ได้หมาย Young’ โดย iLaw พาไปรู้จักกับเยาวชนในภาคอีสานที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและถูกเจ้าหน้าที่รัฐคุกคามหรือดำเนินคดีในช่วงที่ผ่านมา  สำหรับในตอนแรก วันที่ 13 กันายยน 2564 ‘ได้หมาย Young’ ได้เดินทางไปที่จังหวัดนครราชสีมาซึ่งจนถึงตอนนี้มีผู้ถูกดำเนินคดีอย่างน้อย 19 ราย โดยมีเยาวชนเข้าร่วมพูดคุยทั้งหมดสามคนจากกลุ่มโคราชมูฟเมนต์ได้แก่ บุ๊ค วรัญญู, เตอร์ มกรพงษ์ และ เปเปอร์ ภูษณิศา โดยพรุ่งนี้ทั้งสามคนจะมีกำหนดเดินทางไปร
งานวิจัยสื่อในยุคหลอมรวมเทคโนโลยีเสนอ รัฐควรกำกับให้น้อย ต้องประกันเสรีภาพให้ตัวกลาง
อ่าน

งานวิจัยสื่อในยุคหลอมรวมเทคโนโลยีเสนอ รัฐควรกำกับให้น้อย ต้องประกันเสรีภาพให้ตัวกลาง

เสนอผลวิจัยแนวทางการส่งเสริมจริยธรรมจรรยาบรรณ และการกำกับกิจการสื่อใหม่ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี พร้อมประสบการณ์มุมมองจากต่างประเทศ หลายฝ่ายเห็นตรงกันรัฐควรกำกับให้น้อย ต้องส่งเสริมให้สื่อมีความสามารถกำกับดูแลกันเอง
นักกฎหมายสับเละ ร่างประกาศกสทช. ไม่ชอบธรรม-ละเมิดเสรีภาพสื่อ-ทำเกินหน้าที่
อ่าน

นักกฎหมายสับเละ ร่างประกาศกสทช. ไม่ชอบธรรม-ละเมิดเสรีภาพสื่อ-ทำเกินหน้าที่

หลังร่างประกาศ กสทช.ออกมา ก็มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงเนื้อหาที่กำหนดการห้ามออกอากาศตามมาตรา 37 ของพ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรทัศน์ฯ ว่าเป็นการลิดรอนเสรีภาพสื่อ ทั้งที่มาของร่างนี้ก็เป็นที่เคลือบแคลงว่า กสทช.มีอำนาจในการออกหรือไม่ กสทช.จึงจัดงานเสวนา "เสรีภาพสื่อ VS การใช้กฎหมายกำกับดูแล" เพื่อรับฟังความเห็นต่อร่างประกาศฉบับนี้
รุมอัดร่างกำกับเนื้อหาฯ กสทช. เอาแต่ “ควบคุม” ละเลย “การกำกับดูแล”
อ่าน

รุมอัดร่างกำกับเนื้อหาฯ กสทช. เอาแต่ “ควบคุม” ละเลย “การกำกับดูแล”

รุมอัดร่างประกาศฯ กสทช. เรื่องเนื้อหาต้องห้ามในสื่อวิทยุและโทรทัศน์ นักวิชาการวารสาร-รัฐศาสตร์ ร้องรัฐให้ประชาชนคิดเองว่าอะไรเหมาะไม่เหมาะ คนทำสื่อประกาศสงครามไม่รับร่างนี้ นภพัฒน์จักษ์กลัวกสทช.จะกลายเป็นเสือกระดาษ ไม่มีใครเชื่อถือ
สี่องค์กรสื่อรุมค้านร่างประกาศกสทช. คุมเนื้อหา “ทีวี-วิทยุ” ทำขัดรธน.
อ่าน

สี่องค์กรสื่อรุมค้านร่างประกาศกสทช. คุมเนื้อหา “ทีวี-วิทยุ” ทำขัดรธน.

สี่องค์กรสื่อประสานเสียง ไม่เอาร่างกำกับดูแลเนื้อหาของกสทช. ชี้เหมือนกฎหมายย้อนยุค ร่างโดยสายความมั่นคง นักวิชาการอึ้ง ออกมาขัดหลักการสื่อที่สอนนักศึกษานิเทศศาสตร์ ยันคัดค้านพร้อมเดินหน้าฟ้องศาลปกครองหากประกาศบังคับใช้