เปรียบเทียบร่างกฎหมายโลกร้อนสามฉบับ แนวทางขับเคลื่อนประเทศไทยสีเขียว
อ่าน

เปรียบเทียบร่างกฎหมายโลกร้อนสามฉบับ แนวทางขับเคลื่อนประเทศไทยสีเขียว

ชวนอ่านรายละเอียดเปรียบเทียบร่างกฎหมายโลกร้อนฉบับพรรคประชาชน พรรคพลังประชารัฐ และกรมโลกร้อน ซึ่งจะเปิดมิติทางกฎหมายให้ประเทศไทยมุ่งสู่ภาวะเป็นกลางทางคาร์บอนและปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
ภาคประชาชนยื่นหนังสือขอรัฐหยุดฟอกเขียวยักษ์ใหญ่คาร์บอน
อ่าน

ภาคประชาชนยื่นหนังสือขอรัฐหยุดฟอกเขียวยักษ์ใหญ่คาร์บอน

เครือข่ายเสริมสร้างความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและหยุดคาร์บอนเครดิตยื่นหนังสือต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขอให้ทบทวนการฟอกเขียวทุนใหญ่ผ่านกลไกตลาดคาร์บอน
แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน
บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?
อ่าน

บันทึก 22 วัน ทำไมร่างจีเอ็มโอถึงล่ม?

เป็นเวลาเพียง 22 วัน นับตั้งแต่วันที่ ครม.เห็นชอบ จนถึงวันที่ยกเลิกร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ ถือเป็นถอยที่รวดเร็วของรัฐบาลทหาร เมื่อเปรียบเทียบกับประเด็นอย่าง Single Gateway หรือ ชุดร่าง พ.ร.บ.ความมั่งคงดิจิทัล เราชวนย้อนดูไทม์ไลน์การเคลื่อนไหวคัดค้านร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอ และการวิเคราะห์จาก วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี (ไบโอไทย) ว่าทำไม ร่าง พ.ร.บ.จีเอ็มโอถึงล่ม?
ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”
อ่าน

ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”

ร่างพ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพหรือ ร่างพ.ร.บ.จีเอ็มโอ ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีท่ามกลางเสียงท้วงติงจากภาคประชาชนและหน่วยงานรัฐเองหลายประเด็น เช่น การใช้จีเอ็มโอในสภาพควบคุมหรือในภาคสนามที่ไม่ต้องทำ EIA หรือผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิดชอบถ้าความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นเหตุสุดวิสัย รวมถึงการเขียนกฎหมายแบบเปิดโอกาสให้มีการใช้จีเอ็มโออย่างเสรี